Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSorasak Leeratanavalee-
dc.contributor.authorAnak Nongmaneeen_US
dc.date.accessioned2022-06-20T10:29:47Z-
dc.date.available2022-06-20T10:29:47Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73436-
dc.description.abstractThe notion of ternary semigroups was discovered S. Banach. In algebraic struc-ture of ternary semigroups, we can conclude that ternary semigroups are more extensive structure than semigroups which follows from the important remark: every semigroup can be induced to a ternary semigroup, while a ternary semigroup does not necessary reduce to a semigroup. Based on this knowledge, the interesting algebraic properties of ternary semigroups are stutied by many mathematicians. This thesis is devoted to investigation of ternary algebraic structure, and to con- struction of a new (2n + 1)-ary algebraic structure. Analogous to the concept of rectangu-lar bands on semigroups, we extend this concept to construct the quaternary rectangular bands, and the characterization of the quaternary rectangular bands. By using the con-cepts of full transformations and Cayley's theorem on semigroups, we define a new ternary algebraic structure and its ternary operation the so-called the ternary semigroups of all full binary transformations and the ternary composition via identity 1, respectively. Fur-thermore, Cayley's theorem for ternary semigroups is proved. The notion of Menger algebras of rank n, which can be considered as a general-ization of semigroups, was introduced by K. Menger in 1946. Based on this knowledge, the important question arises: what structure is a generalization of ternary semigroups? In this thesis, we introduce the notion of ternary Menger algebras of rank n, which is a generalization of ternary semigroups. Moreover, we establish the so-called a diagonal ternary semigroup and then investigate its interesting properties. Furthermore, we intro-duce the concept of homomorphsims and congruences on ternary Menger algebras. These lead us to study the quotient structure of ternary Menger algebras, and to investigate the isomorphsim theorems. Finally, the characterization of reduction of ternary Menger algebras into Menger algebras is presented.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectGroup theory-
dc.subjectAlgebra-
dc.titleTernary Menger Algebras: A Generalization of Ternary Semingroupsen_US
dc.title.alternativeพีชคณิตเมงเกอร์ไตรภาค: การวางนัยทั่วไปของกึ่งกรุปไตรภาคen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshAlgebra-
thailis.controlvocab.lcshGroup theory-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแนวคิดของกึ่งกรูปไตรภาคได้รับการค้นพบ โดย เอส บานาค ทั้งนี้ในเชิงโครงสร้างของกึ่งกรุปไตรภาค เราสามารถกถ่าวสรุปได้ว่า กึ่งกรุปไตรภาคมีโครงสร้างที่ใหญ่กว่ากึ่งกรุป ซึ่งเป็นผลจากข้อสังเกตสำคัญที่ว่า ทุก ๆ กึ่งกรุปสามารถสร้างเป็นกึ่งกรุปไตรภาคได้เสมอ แต่กึ่งกรุปไตรภาคไม่จำเป็นต้องลดรูปเป็นกึ่งกรุป ด้วขความรู้ดังกล่าวนี้ สมบัติเชิงพืชดผิตที่นำสนใจของกึ่งกรุปไตรภาคได้ถูกศึกษาโดยนักคณิตศาสตร์หลายท่านวิทยานิพนธ์นี้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อการศึกษาโครงสร้างชิงพืชคผิตไตรภาคและการสร้างโครงสร้างเชิงพืชคนิต (2n + 1) ภาค ขึ้นมาใหม่ อาศัยแนวคิดของแถบสี่เหลี่ยมบนกึ่งกรุป เราได้ขยายแนวคิดดังกล่าวเพื่อนำไปสู่การสร้งแถบสี่เหลี่ยมจตุรภาคและการจำแนกลักษณะเฉพาะของแถบสี่เหลี่ยมจตุรภาค จากนั้น อาศัขแนวคิดของการแปลงเดื่มและทฤษฎีบทเคย์เลย์บนกึ่งกรุป เราได้นิยาม โครงสร้างเชิงพืชคณิตไตรภาคใหม่และการคำเนินการไตรภาคของพืชคณิตคังกล่าว ซึ่งเรียกว่า กึ่งกรุปไตรภาคของการแปลงเต็มทั้งหมดและการประกอบไตรภาค โดยเอกลักษณ์ 1 ตามลำดับ ยิ่งไปกว่านั้น ทฤษฎีบทเคย์เลข์สำหรับกึ่งกรุป ไตรภาคได้รับการพิสูจน์แนวคิดของพืชคบิตเมงเกอร์ของอันดับ แ ซึ่งสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นการวางนัยทั่วไปของกึ่งกรุป ได้ถูกเสนอโดย เค เมงเกอร์ ในปี ค.ศ. 1946 จากความรู้ดังกล่าวนี้ คำถามที่สำคัญจึงเกิดขึ้น นั่นคือโครงสร้างใดที่เป็นการวางนัยทั่วไปของกึ่งกรูปไตรภาค ในวิทยานิพนธ์นี้ เราได้นำเสนอแนวคิดของพืชคณิตเมงเกอร์ไตรภาค ซึ่งสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นการวางนัยทั่วไปของกึ่งกรุปไตรภาค นอกจากนี้ เราได้นิยามกึ่งกรุปไตร ภาคแนวทแยง และจากนั้นเรายังสนใจศึกษาสมบัติที่น่าสนใจบางประการของกึ่งไตรภาคดังกล่าว ยิ่งไปกว่านั้น เรายังได้นำเสนอแนวคิดของสาทิสสัณฐานและสมภาคบนพืชคณิตเมงเกอร์ไตรภาค สิ่งเหล่านี้นำไปสู่การศึกษาโครงสร้างผลหารและทฤยฎีบทสมสัณฐานของพืชคณิตเมงเกอร์ไตรภาคท้ายที่สุด เราได้นำเสนอลักษณะเฉพาะของการลครูปของพืชคณิตเมงเกอร์ไตรภาคเป็นพืชคณิตเมงเกอร์en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620531003 เอนก นองมณี.pdf11.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.