Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72213
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Charin Mangkhang | - |
dc.contributor.advisor | Thongchai Phuwanatwichit | - |
dc.contributor.advisor | Sawaeng Saenbutr | - |
dc.contributor.author | Lamai Passadee | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-03-11T07:43:33Z | - |
dc.date.available | 2022-03-11T07:43:33Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72213 | - |
dc.description.abstract | Graduates should be developed to have identity with management skills for developing themselves creative and beneficial for Lanna community. This study is in the research and development design with 3 purposes: 1) to synthesize identity concepts of hands-on graduates at Rajamangala University of Technology Lanna, 2) to form the identity development model of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna, and 3) to propose the identity development model of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna. The implementation was divided into 4 phases. Phase 1 was to synthesize identity development concepts of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna whereas Phase 2 was to form the identity development model of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna. Phase 3 was concerned with traials of the identity development model of hands-on graduates for community; and finally, Phase 4 was the use assessment of the identity development model of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna. The identity development model was used with 40 students who registered in GEBSO 101: Sufficiency Economy and Wisdom of Living in the first semester of the 2019 academic year. The students were selected with the purposive sampling, and the identity development model of hands-on graduates was integrated in class lessons. The used instruments included lesson plans, assessment form of student identity on management skills; and then the data were analyzed quantitatively in percentage, means, standard deviation, and qualitatively in content analysis. Results of the Study 1. The resulting model from the identity development of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna was LAMAI Model which included the principles of experiential learning and action learning, leading to graduate identity with management skills. The purposes were for students to develop their identity through inclusive learning for Lanna community as well as to gain management skills conforming to the academic guidelines of Rajamangala University of Technology Lanna. The university guidelines focused on hands-on graduates for community on the basis of community innovation in 5 steps: Step 1 Lanna Community Based Analysis (L), Step 2 Action Learning (A), Step 3 Management skills (M), Step 4 after Actions Reviews (A), and Step 5 Inclusive Learning for Community (I). 2. Regarding the use assessment of the identity development model of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology, the model was congruent to 5 lesson plans for the identity development of hands-on graduates for community at the “much” level of the overall plan. The overall model of the identity development of hands-on graduates for community was at the “much” level of appropriateness. The identity of hands-on graduates for community on technical skills, human relation skills, and conceptual skills were found at the “good” level of all lesson plans. The overall result after the lessons for identity development of hands-on graduates for community at Rajamangala University of Technology Lanna was at the “much” level. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์บัณฑิต | en_US |
dc.subject | นักปฏิบัติเพื่อชุมชน | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | en_US |
dc.title | Model for Developing of Hands - On Graduates Identity for Community of Rajamangala University of Technology Lanna | en_US |
dc.title.alternative | รูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์แนวคิดอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 2) พัฒนารูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และ3) นาเสนอรูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มีการดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะคือ ระยะที่ 1 การวิจัยเพื่อศึกษาและสังเคราะห์อัตลักษณ์บัณฑิต นักปฏิบัติเพื่อชุมชนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ระยะที่ 2 การพัฒนาเพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ระยะที่ 3 การวิจัยเพื่อทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชน และระยะที่ 4 การพัฒนาเพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ผู้วิจัยนารูปแบบการพัฒนาไปใช้กับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกระบวนวิชา GEBSO 101 ปรัชญาแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิต ในภาคการศึกษา 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 40 คน เลือกแบบเจาะจง จัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนที่นักวิจัยพัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินอัตลักษณ์ ผู้เรียนต่อการมีทักษะการจัดการ และแบบวัดความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสังเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนาได้รูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา LAMAI Model มีหลักการคือ การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์พื้นที่ล้านนา การเรียนรู้การลงมือปฏิบัติจริงนาไปสู่อัตลักษณ์บัณฑิตที่มีทักษะการจัดการวัตถุประสงค์คือ เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ร่วมกับชุมชนเชิงพื้นที่ล้านนาเพื่อให้พัฒนาอัตลักษณ์ของตนเองให้มีทักษะการจัดการสอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคือ บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนบนพื้นฐานนวัตกรรมชุมชน ซึ่งขั้นตอนของกระบวนการมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ชุมชนล้านนา (Lanna Community Based Analysis : L) ขั้นตอนที่ 2 การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ชุมชนล้านนาเป็นฐาน (Action Learning : A) ขั้นตอนที่ 3 ทักษะการจัดการผ่านชุมชน (Management Skills : M) ขั้นตอนที่ 4 การเรียนรู้หลังการปฏิบัติผ่านชุมชนล้านนา (After Actions Reviews :A) และขั้นตอนที่ 5 การศึกษาแบบเรียนร่วมเพื่อชุมชนล้านนา (Inclusive Learning for Community : I) 2. ผลการประเมินการใช้รูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พบว่า ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้การพัฒนาอัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนทั้ง 5 แผนการจัดการเรียนรู้ มีภาพรวมของแผนในระดับมาก รูปแบบกระบวนการกระบวนการพัฒนาของลักษณ์บัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก อัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนด้านทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (Technical Skills) อยู่ในระดับดีทุกแผนการจัดการเรียนรู้ อัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนด้านทักษะการมีมนุษยสัมพันธ์ (Human Skills) อยู่ในระดับดีทุกแผนการจัดการเรียนรู้ อัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชนด้านทักษะความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) อยู่ในระดับดีทุกแผนการจัดการเรียนรู้ และหลังการจัดการเรียนรู้รูปแบบการพัฒนาอัตลักษณ์ของบัณฑิตนักปฏิบัติเพื่อชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580252019 ลมัย ผัสดี.pdf | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.