Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrarud Boonsritan-
dc.contributor.advisorSomwang Kaewsufong-
dc.contributor.advisorChetthapoom Wannapaisan-
dc.contributor.authorRaweerose Sricompaen_US
dc.date.accessioned2022-03-11T07:22:03Z-
dc.date.available2022-03-11T07:22:03Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72211-
dc.description.abstractThis study was conducted with 3 main objectives; 1. To investigate learning condition of elderlies, 2. To study their living philosophies in terms of lifelong learning, and 3. To present the results of applying elderlies’ living philosophies in terms of lifelong learning. The results revealed as follows. In terms of elderlies’ learning condition, elderlies have inherited abilities, skills, various specific knowledges, as well as experiences from past to present. Additionally, related organizations continually support elderly learning, mostly through various kinds new age of media; they can learn new things every time. Elderlies’ living philosophies related to lifelong learning, in terms of consumption was based on food intake and nutrition, which are keys to good health. The finding also indicated that the majority of them were able to select the good things for their daily consumption. Besides, social and cultural activities support elderlies in terms of knowledge exchange and inheritance. Especially, Buddhist activities and local wisdom are always shared via new age media, usually, in a form of volunteering activities. In conclusion, elderly living philosophy for lifelong learning, concerning the way of consumption, society, and culture are all linked together, leading to valuable knowledge and daily practices. Since elderly living philosophy for lifelong learning represents the connection of lifelong learning processes, which are necessary to enhance quality of life of older adults in present society, it should be conserved.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectการเรียนรู้ตลอดชีวิตen_US
dc.subjectElderlyen_US
dc.subjectLearningen_US
dc.titleLiving Philosophy of Elderly for Lifelong Learningen_US
dc.title.alternativeปรัชญาการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาสภาพการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ 2) เพื่อศึกษาปรัชญาการดารงชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3)เพื่อเสนอปรัชญาการดารงชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัยพบว่า สภาพการเรียนรู้ของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการอุปโภคบริโภคและสังคมวัฒนธรรมมีการรับรู้ด้วยตนเอง อาศัยความรู้พื้นฐานที่สั่งสมบ่มเพาะมาตั้งแต่อดีต รวมทั้งผู้อื่นและหน่วยงานต่างๆ ซึ่งมีส่วนในการสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้โดยผ่านสื่อหลายช่องทางทาให้มีการเรียนรู้ตลอดเวลา ปรัชญาการดารงชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านการอุปโภคบริโภคมีความรู้ในหลักโภชนาการเป็นเบื้องต้นและสอดคล้องกับวิธีการปฏิบัติในการใช้สอยเครื่องอุปโภคที่เหมาะสมและจาเป็นต่อการดารงชีวิตให้เป็นไปอย่างเรียบง่าย ส่วนด้านสังคมและวัฒนธรรมได้เข้าร่วมกิจกรรมที่หลากหลายโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันมุ่งเน้นกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านผ่านตัวบุคคลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยมากเป็นลักษณะกิจกรรมจิตอาสา ปรัชญาการดารงชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านอุปโภคบริโภคและด้านสังคมและวัฒนธรรมมีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องกันจนเกิดองค์ความรู้สู่การปฏิบัติในชีวิตประจาวันเป็นสิ่งที่ดีงาม มีคุณค่าต่อผู้สูงอายุและผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริมและรักษาไว้ เพราะสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีส่วนสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งในการสร้างสรรค์และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580252008 รวีโรจน์ ศรีคำภา.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.