Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72209
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทรพจน์ ดารงค์พานิช-
dc.contributor.authorนิรวิทธ์ นกพึ่งen_US
dc.contributor.authorNirawit Nokpuangen_US
dc.date.accessioned2022-03-11T02:35:32Z-
dc.date.available2022-03-11T02:35:32Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72209-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the effects of mathematics achievement of secondary school students, and 2) to compare the pretest-posttest mathematics achievement between STEM education school and non-STEM education school by using propensity score matching method. The samples of the study were drawn from multi-stage sampling consisted of 1,800 students, 105 mathematics teachers, and 60 school directors. The research instrument used for collecting the data was a five-point rating scale questionnaire and survey. The data were analyzed using descriptive statistics, enter multiple regression analysis, comparison analysis by two sample t-tests, and propensity score matching method. The research findings were: 1) the effects of mathematics achievement of secondary school students were student's gender, basic knowledge, study part time, self-concepts, motivation, intention, parent's highly education, parent's career, parent's income, parent’s attention, relationship between the student and parents, parent's status, teacher's gender, teacher's highly education, teacher's faculty of graduation, STEM learning, quality mathematics teaching, classroom environment, school director's gender, school director's highly education, experiment of school management, school size, secondary education service area of school, and participation of STEM education. These effects predicted by 66.0% were significant at the 0.05 level. 2) The results of the comparison analysis mathematics achievement before using propensity score matching method technic found that mathematics achievement’s STEM education school was more than mathematics achievement's non-STEM education school. Moreover, after adjusting propensity score, it found that mathematics achievement’s STEM education school was more than mathematics achievement's non-STEM education school in group which were propensity scores at a very high level.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโครงการสะเต็มศึกษาen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectวิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียงen_US
dc.subjectSTEM Educationen_US
dc.subjectMathematics Achievementen_US
dc.subjectPropensity Score Matching Methoden_US
dc.titleอิทธิพลของโครงการสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา : การประยุกต์ใช้วิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียงen_US
dc.title.alternativeThe Effect of STEM Education Project on Mathematics Achievement of Secondary School Students: An Application to Propensity Score Matching Methoden_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษากับโรงเรียนที่ไม่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษา ก่อนและหลังใช้วิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 1,800 คน ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 105 คน และผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 60 คนได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ และแบบสารวจ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบนาเข้าตัวแปรทั้งหมดเข้าสมการ (Enter Multiple Regression) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 2 กลุ่มด้วยการทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์คะแนนความโน้มเอียง ผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา ได้แก่ เพศของนักเรียน ความรู้พื้นฐาน เวลาที่ใช้ในการศึกษาเพิ่มเติม อัตมโนทัศน์ทางวิชาการด้านคณิตศาสตร์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความตั้งใจเรียน ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้ปกครองอาชีพของผู้ปกครอง รายได้ของครอบครัว ความเอาใจใส่ทางการเรียนของผู้ปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับผู้ปกครอง สถานะของบิดาและมารดา เพศของครู ระดับการศึกษาสูงสุดของครู คณะที่สาเร็จการศึกษาของครู การใช้เทคนิควิธีการแบบสะเต็มศึกษา คุณภาพการสอนวิชาคณิตศาสตร์ สภาพแวดล้อมภายในชั้นเรียน เพศของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้บริหารสถานศึกษา ประสบการณ์ในการบริหารสถานศึกษา ขนาดของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาของโรงเรียน และสถานะของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษา โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถทานายได้ร้อยละ 66.0 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ก่อนใช้เทคนิคจับคู่คะแนนความโน้มเอียง พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษามากกว่าโรงเรียนที่ไม่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษา และหลังจากปรับด้วยคะแนนความโน้มเอียง พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษามากกว่าโรงเรียนที่ไม่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษาในกลุ่มที่มีค่าคะแนนความโน้มเอียงสูงมากen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580232017 นิรวิทธ์ นกพึ่ง.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.