Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72199
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัท วินิจ | - |
dc.contributor.author | มัจฐพงศ์ มหาวัน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-02-04T08:46:59Z | - |
dc.date.available | 2022-02-04T08:46:59Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72199 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this independent study was to study the influence of online marketing mix on the intention to use education guidance websites among generation Z students in the northern region. An online questionnaire is used as a tool for collecting data. The samples were 300 high school students in the northern region who have used the education guidance website in the previous six months selected by using quota sample selection. Data were analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics including One-Way ANOVA and Multiple Regression analysis. The results showed that most of the respondents were female, studied in Chiang Mai province with average household or adoptive parent monthly income between 15,001 - 30,000 baht that have planned their education path. Most of them are students studying in the Science-Mathematics program with an average grade of 2.50 - 2.99 have a high level of agreement regarding the intention to use the educational guidance website in every factor with the different opinion among groups of students at different academic year levels, and between groups of students with different average grades, opinions on the intention of using the educational guidance website were statistically significant at 0.05 level. The factors that influence of online marketing mix on the intention to use education guidance website among generation Z students in northern region including product, personalization, price and privacy and the online marketing mix factors that influence the intention of using the education guidance website among generation Z students in the northern region with a higher average grade of 2.99 including product and personal service. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ส่วนประสมการตลาด | en_US |
dc.subject | เว็บไซต์ | en_US |
dc.subject | เจเนอเรชัน แซด | en_US |
dc.title | อิทธิพลของส่วนประสมการตลาดออนไลน์ต่อความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาของนักเรียนเจเนอเรชัน แซดในภาคเหนือ | en_US |
dc.title.alternative | Influence of online marketing mix on intention to use education guidance website among generation Z students in Northern region | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาของนักเรียนเจเนอเรชันแซดในภาคเหนือโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคเหนือ ที่เคยใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาภายในระยะเวลา 6 เดือน จำนวน 300 ราย ใช้การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ศึกษาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่รายได้รวมของครอบครัวหรือผู้อุปการะเฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 30,000 บาท มีการวางแผนการศึกษาต่อแล้ว ส่วนมากเป็นนักเรียนที่ศึกษาในแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ มีผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ และความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาในระดับเห็นด้วยมากทุกปัจจัย โดยระหว่างกลุ่มนักเรียนที่ระดับชั้นปี การศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดออนไลน์และความคิดเห็นต่อความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาแตกต่างกัน และระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาของนักเรียนเจเนอเรชันแซดในภาคเหนือประกอบด้วย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการให้บริการส่วนบุคคล ด้านราคา และด้านความเป็นส่วนตัว และปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาของนักเรียนเจเนอเรชันแซดในภาคเหนือที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงกว่า 2.99 ประกอบด้วย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และปัจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611532144 มัจฐพงศ์ มหาวัน.pdf | 32.24 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.