Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChaleamchat Somgird-
dc.contributor.advisorJaruwan Khonmee-
dc.contributor.advisorVeerasak Punyapornwithaya-
dc.contributor.advisorAyona Silva-Fletcher-
dc.contributor.authorWorapong Kosaruken_US
dc.date.accessioned2022-02-04T08:37:04Z-
dc.date.available2022-02-04T08:37:04Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72195-
dc.description.abstractAsian elephants (Elephas maximus) are the idolized species in Thailand that have been working in tourist-entertaining camps for over decade. Thai elephant camps have provided various tourist activities which directly impact on animal well-being. Recently, secretory immunoglobulin A (sIgA) is proved to be a potential welfare biomarker in Asian elephants which can contribute additional data in both positive and negative stimuli. We investigated sIgA responses and glucocorticoid hormones (GC) by assuming that high sIgA and low GCs, and low GC to sIgA ratio indicate the positive welfare. Forty-four domesticated female elephants from six elephant camps were divided into three groups; saddle-, bareback-, and no-riding. For one year, salivary and fecal samples were monthly collected for sIgA and glucocorticoid hormone (GC) measures with body condition, foot health, and skin wound score evaluation. Generalized Least Square was used to statistical analysis and the results were diverse in different management. Overall, there were no differences in salivary sIgA between the three activities (p>0.05). The bareback-riding activity presented lower salivary cortisol and higher fecal sIgA in overall measurements compared to other activities (p<0.01), while the saddle type had the lowest fecal glucocorticoid metabolite (FGM) concentrations (p<0.01). SIgA and GC results were not consistent and high variability in both two sample matrices was found creates difficulty in interpretation. However, the results suggested that there were more factors related to elephant welfare besides elephants participating in riding activities or not.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCortisolen_US
dc.subjectSecretory Immunoglobulinen_US
dc.subjectAsian Elephantsen_US
dc.titleEffect of activities on Cortisol and Secretory Immunoglobulin A levels in female captive Asian Elephants (Elephas maximus) in Thailanden_US
dc.title.alternativeผลของกิจกรรมต่อระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลและสารหลั่งอิมมูโนโกลบูลิน เอ ในช้างเลี้ยงเอเชีย (Elephas maximus) เพศเมียในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractช้างเอเชีย (Elephas maximus) เป็นสัตว์สัญลักษณ์ประจำชาติของไทย และการนำช้างมาใช้เพื่อการท่องเที่ยวได้เกิดขึ้นมาเป็นระยะเวลากว่าสี่สิบปี ปัจจุบันปางช้างมีการจัดกิจกรรมสาหรับนักท่องเที่ยวที่หลากหลาย กิจกรรมการทำงานของช้างที่แตกต่างกันนี้อาจส่งผลโดยตรงต่อสวัสดิภาพของช้างเลี้ยง ทั้งนี้ได้มีการศึกษาก่อนหน้าโดยนำสารคัดหลั่งอิมมูโนโกลบูลิน เอ มาใช้เป็นดัชนีชี้วัดสวัสดิภาพชนิดใหม่ในช้างเลี้ยงเอเชียสามารถบ่งชี้ถึงการตอบสนองทางบวกของสัตว์ได้ การศึกษานี้เป็นการทดลองครั้งแรกที่มีการนำสารคัดหลั่งอิมมูโนโกลบูลิน เอ มาใช้ในการประเมินสวัสดิภาพของช้างเลี้ยงในปางช้างที่มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน ทำการแบ่งกลุ่มช้างเลี้ยงเอเชียเพศเมียจำนวน 44 เชือก จากปางช้างทั้งหมด 6 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนั่งแหย่ง กลุ่มนั่งหลังเปล่า และกลุ่มไม่นั่งช้าง โดยเก็บตัวอย่างน้ำลายและมูลของช้างแต่ละเชือก เดือนละครั้งเป็นระยะเวลา 12 เดือนเพื่อทดสอบหาระดับฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์และสารหลั่งอิมมูโนโกลบูลิน เอ พร้อมทั้งประเมินคะแนนความสมบูรณ์ของร่างกาย คะแนนสุขภาพเท้า และคะแนนบาดแผล จากผลที่ได้ไม่พบการเปลี่ยนแปลงในรอบปี ของปริมาณสารหลั่งอิมมูโนโกบูลิน เอ ที่ชัดเจน วิเคราะห์ข้อมูลตรวจวัดซ้ำทางสถิติโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุดทั่วไป พบว่ากิจกรรมการทางานของช้างที่แตกต่างกันส่งผลให้มีปริมาณดัชนีชี้วัดทางชีวภาพทั้งสองชนิดมคี วามแตกต่างกัน ผลจากกลุ่มช้างนั่งหลังเปล่าพบว่ามีปริมาณฮอร์โมนคอร์ติซอลในน้ำลายต่ำและปริมาณสารหลั่งอิมมูโนโกบูลิน เอ จากตัวอย่างมูลสูงกว่าช้างในกลุ่มกิจกรรมอื่นอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.01) ในขณะที่ช้างกลุ่มนั่งแหย่งพบระดับฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์เมตาบอไลต์ในมูลต่ำที่สุด (p<0.01) อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญของปริมาณสารหลั่งอิมมูโนโกบูลิน เอ ที่ตรวจวัดในน้ำลายระหว่างช้างทั้งสามกลุ่มกิจกรรม (p>0.05) จากการทดลองพบว่าผลของระดับฮอร์โมนกลูโคคอรติคอยด์และสารหลั่งอิมมูโนโกลบูลิน เอ นั้นมีความผกผันสูงทำให้ส่งผลต่อการแปลผล โดยพบว่าอาจมีปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อสวัสดิภาพของช้างเลี้ยงนอกเหนือจากความแตกต่างของกิจกรรมการนั่งช้างen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611435914 วรพงศ์ โกษารักษ์.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.