Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายนที เฉินบำรุง-
dc.contributor.authorพิมพ์ญาดา วังชิณกุลโรจน์en_US
dc.date.accessioned2021-09-14T08:38:15Z-
dc.date.available2021-09-14T08:38:15Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72169-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate the effect of service quality on consumer loyalty of drug stores in Mueang District, Chiang Rai province in order to understand and make use of this data as a guideline for the drug stores’ service quality formation or improvement strategic planning. Samples of this study were specified to 400 consumers who purchased medicines from either independent, chain, or franchise drug stores in Mueang District, Chiang Rai province. Questionnaires were used as the tool to collect data. Data obtained were, then, analyzed by the descriptive statistics i.e. frequency, percentage, mean, and standard deviation and the inferential statistics: Multiple Regression to find out the effects of service quality on consumer loyalty of drug stores in Mueang District, Chiagn Rai. The finding presented that most respondents or 208 samples were female (52%) in the age of 21-30 years old (42.50%). They were single (50.50%) and graduated with bachelor’s degree (53.25%). They were self-employed (24.50%) and earned monthly income at the average amount of 10,001-20,000 Baht (41.50%). They were the consumers of chain drug stores (46.25%) and came to any drug store at the frequency of 1-10 times per year (75%). They went to their regular drug stores at the frequency of 1-10 times per year (93.75%) and some of them (44.5%) specifically went to the same drug store at 80%-100%. Service that they received from the drug store was to purchase medicines to remedy their sickness under the instruction and advice from the pharmacists (62.25%). Results of the study on service quality of drug stores in Mueang District, Chiang Rai revealed that the overall service quality of drug stores in Mueang District, Chiang Rai was rated at a high level (with mean values of 3.95 from 5). In consideration of attributes of service quality, tangibility and reliability were rated at the highest mean values (at 3.97); followed by responsiveness and empathy (at 3.94); and assurance (at 3.93), in orderly. Results of the study on consumer loyalty of drug stores in Mueang District, Chiang Rai province revealed that the overall consumer loyalty of drug stores in Mueang District, Chiang Rai was rated at a high level (with mean values of 3.80 from 5). In consideration of attributes of consumer loyalty, words-of-mount communication were rated at the highest mean value (at 4.00); followed by complaining behavior (at 3.79), purchase intention (at 3.72), and price sensitivity (at 3.69), in orderly. The mean value of price sensitivity that was found closer to 5 could reflect that the consumers could bear with the price sensitivity at low level. Results of the study on the effect of service quality on consumer loyalty of drug stores in Mueang District, Chiang Rai province indicated that service quality was positively correlated to consumer loyalty of drug stores in Mueang District, Chiang Rai. In consideration of relation dimensions of service quality that affected consumer loyalty of drug stores, the findings were presented as follows. (1) If the consumers had recognition of empathy and tangility attributes of service quality, the overall consumer loyalty would increase with statistically significance (R2 = 0.590, R = 0.768, F=113.221, Sig. of F = 0.000). (2) If the consumers had recognition of empathy, tangibility, and reliability attributes of service quality, the word-of-mouth communication would increase with statistically significance ((R2 = .618, R = 0.786, F=127.509, Sig. of F = 0.000). (3) If the consumers had recognition of empathy and tangibility attributes of service quality, the purchase intention would increase with statistically significance (R2 = .395, R = 0.628, F=51.376, Sig. of F = 0.000). (4) If the consumers had recognition of empathy attribute of service quality, the price sensitivity would increase with statistically significance (R2 = .280, R = 0.529, F=30.660, Sig. of F = 0.000). (5) If the consumers had recognition of empathy, tangibility, assurance, and reliability attributes of service quality, they would not move to another store although a complaint was raised with the statistically significance (R2 = .435, R = 0.660, F=60.765, Sig. of F = 0.000). All relations demonstrated in this study could be referred to in the guidelines on service quality development of drug stores to sustain and build consumer loyalty in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของคุณภาพบริการต่อความภักดีผู้บริโภคของร้านขายยา ในอำเภอเมืองเชียงรายen_US
dc.title.alternativeEffect of service quality on consumer loyalty of drug stores in Mueang Chiang Rai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashความภักดีของลูกค้า -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashร้านขายยา -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashบริการทางการแพทย์ -- เชียงราย-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 พ366ผ 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความภักดี ของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยาพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เพื่อทราบคุณภาพการให้บริการที่ ส่งผลความภักดีของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยาพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และนำข้อมูลไปใช้ เป็นแนวทางวางกลยุทธ์ในการสร้างหรือพัฒนาคุณภาพของการบริการในร้านยา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อยาจากร้านขายยาทั้งร้านขายยาแบบอิสระ แบบสาขา และ แบบแฟรนไชส์ ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จำนวน 400 ราย ใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงอ้างอิง ใช้การการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression) เพื่อทดสอบวัตถุประสงค์ในการศึกษาคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลความภักดี ของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยา พื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 208 คน (ร้อยละ 52.00) อายุ 21-30 ปี (ร้อยละ 42.50) สถานภาพโสด (ร้อยละ 50.50) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 53.25) อาชีพ อิสระ (ร้อยละ 24.50) มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001– 20,000 บาท (ร้อยละ 41.50) ใช้บริการร้านขาย ยาแบบสาขาหรือแบบเชนสโตร์ (ร้อยละ 46.25) ใช้บริการร้านขายยารวมทุกร้าน 1-10 ครั้งต่อปี (ร้อย ละ 75.00) ใช้บริการร้านขายยาร้านที่ใช้ประจำ1-10 ครั้งต่อปี (ร้อยละ 93.75) ใช้บริการร้านเดิม 80%- 100% (ร้อยละ 44.50%) ลักษณะการบริการ คือซื้อยาตามอาการโดยมีเภสัชกรเป็นผู้วินิจฉัย (ร้อยละ 62.25) ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพการให้บริการของร้านขายยาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พบว่า ระดับคุณภาพการให้บริการของร้านขายยาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.95 เต็ม 5) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ได้แก่ ความเป็นรูปธรรม ของการให้บริการและความน่าเชื่อถือหรือความไว้วางใจมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (ค่าเฉลี่ย = 3.97) รองลงมา คือการตอบสนองลูกค้า และความใส่ใจลูกค้า (ค่าเฉลี่ย = 3.94) และการให้ความมั่นใจ แก่ลูกค้า (ค่าเฉลี่ย 3.93) ตามลำดับ ความภักดีของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พบว่า ความภักดีของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยาในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย 3.80 เต็ม 5) เรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ได้แก่ ด้านพฤติกรรมการบอกต่อ (ค่าเฉลี่ย 4.00) ด้านพฤติกรรมการร้องเรียน (ค่าเฉลี่ย 3.79) ด้านความตั้งใจที่จะซื้อ (ค่าเฉลี่ย 3.72) และด้าน ความอ่อนไหวต่อปัจจัยด้านราคา (ค่าเฉลี่ย 3.69) ตามลาดับ โดยค่าเฉลี่ยด้านความอ่อนไหวต่อราคา เข้าใกล้ 5 แสดงว่ามีความอ่อนไหวของปัจจัยราคาในระดับที่ต่า ผลการศึกษาผลกระทบของคุณภาพบริการต่อความภักดีของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยาใน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พบว่า คุณภาพบริการมีความสัมพันธ์กับความภักดีของผู้บริโภคในธุรกิจ ร้านขายยา ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ในทิศทางเดียวกัน เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างมิติ ต่างๆของคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อความภักดีของผู้บริโภคในธุรกิจร้านขายยา พบว่า (1) หาก ผู้บริโภคมีระดับการรับรู้คุณภาพของการบริการ ด้านความใส่ใจลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของ การให้บริการ จะส่งผลให้เกิดความภักดีโดยรวมของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (R2 = 0.590, R = 0.768, F=113.221, Sig. of F = 0.000) (2)หากผู้บริโภคมีระดับการรับรู้คุณภาพของการบริการ ด้านความใส่ใจลูกค้า ด้านความเป็นรูปธรรมของการให้บริการ และด้านความน่าเชื่อถือหรือความ ไว้วางใจ จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบอกต่อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ (R2 = .618, R = 0.786, F=127.509, Sig. of F = 0.000) (3)หากผู้บริโภคมีระดับการรับรู้คุณภาพของการบริการ ด้าน ความใส่ใจลูกค้า และด้านความเป็ นรูปธรรมของการให้บริการจะส่งผลให้เกิดความตั้งใจซื้อของ ผู้บริ โภคเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ (R2 = .395, R = 0.628, F=51.376, Sig. of F = 0.000) (4)หาก ผู้บริโภคมีระดับการรับรู้คุณภาพของการบริการ ด้านความใส่ใจลูกค้า จะส่งผลให้ผู้บริโภคทนต่อ ราคายาที่สูงกว่าที่อื่นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ (R2 = .280, R = 0.529, F=30.660, Sig. of F = 0.000) (5)หากผู้บริโภคมีระดับการรับรู้คุณภาพของการบริการ ด้านความใส่ใจลูกค้า ความเป็นรูปธรรมของ การให้บริการ การให้ความมั่นใจแก่ลูกค้า และความน่าเชื่อถือหรือความไว้วางใจ จะส่งผลให้ ผู้บริโภคไม่เปลี่ยนไปใช้บริการร้านขายยาอื่นทันทีแม้จะมีการร้องเรียนเกิดขึ้น เพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญ (R2 = .435, R = 0.660, F=60.765, Sig. of F = 0.000) ความสัมพันธ์จากการศึกษานี้สามารถ นาไปหาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริการร้านขายยาเพื่อรักษาและสร้างความภักดีของ ผู้บริโภคต่อร้านขายยาในอนาคตได้en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.