Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโรจนา ธรรมจินดา-
dc.contributor.authorธนัชญา พลเยี่ยมen_US
dc.date.accessioned2021-09-14T08:35:24Z-
dc.date.available2021-09-14T08:35:24Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72168-
dc.description.abstractThis study aimed to investigate customer satisfaction towards credit approval procedure of Retail Credit Approval Office 8, Government Savings Bank. Questionnaires were used as the tool to collect data. Samples of this study were specified to 385 customers who received retail credit approval from branches of the Government Saving Bank in Region 8. Data obtained were, then, analyzed by the descriptive statistics i.e. frequency, percentage, and means. The findings presented that the most respondents were single male in the age of 31-40 years old and graduated with bachelor’s degree. They worked as merchandise and earned monthly income at the average amount of 10,001-20,000 THB. They had been the customer of the Retail Credit Approval Office 8, Government Savings Bank for over 3 years. Subcategories of the personal credit that they were listed in were the housing loan and the empowering foundation for individual loan. Most of them were parts of the People Bank Project of the studied bank. Results of the study on customer’s concern revealed that in the credit approval process, the respondents rated the highest concern on empathy attribute; followed by attributes namely assurance, reliability, tangibility, and responsiveness, respectively. Results of the study on customer’s satisfaction revealed that in the credit approval process, the respondents rated the highest satisfaction on empathy attribute; followed by attributes namely reliability, assurance, tangibility, and responsiveness, respectively. Results of the IPA (Important-Performance Analysis) revealed that all attributes: reliability, assurance, empathy, responsiveness, and tangibility were listed in Quadrant B (Keep up the good work). This result can imply that the credit approval process has been well operated and it should keep maintaining this quality. The results also presented that the respondents rated their concern and satisfaction at the lowest level to responsiveness attribute. Thus, the Retail Credit Approval Office 8, Government Savings Bank should pay special attention to this attribute. Processes related to the responsiveness attribute must be improved in order to gain the rates of customer’s concern and satisfaction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าต่อกระบวนการพิจารณาสินเชื่อของสำนัก อนุมัติสินเชื่อรายย่อยภาค ๘ ธนาคารออมสินen_US
dc.title.alternativeCustomer satisfaction towards credit approval procedure of retail credit approval office 8, government savings banken_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.6323-
thailis.controlvocab.thashธนาคารออมสิน-
thailis.controlvocab.thashธนาคาร -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ-
thailis.controlvocab.thashสินเชื่อ-
thailis.manuscript.callnumberว 332.6323 ธ1511ค 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าต่อกระบวนการพิจารณาสินเชื่อของสานักอนุมัติสินเชื่อรายย่อยภาค ๘ ธนาคารออมสิน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ ลูกค้าที่ผ่านการอนุมัติสินเชื่อรายย่อยกับสาขาในสังกัดธนาคารออมสินภาค ๘ จำนวน 385 ราย วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และ ค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 31 - 40 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพค้าขาย รายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 10,001 - 20,000 บาท ระยะเวลาในการใช้บริการที่สำนักอนุมัติสินเชื่อรายย่อยภาค 8 ธนาคารออมสิน มากกว่า 3 ปี ขึ้นไป ในส่วนของสินเชื่อลูกค้าส่วนบุคคล ส่วนใหญ่เป็นประเภทสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย และสินเชื่อลูกค้าฐานราก ส่วนใหญ่เป็นประเภทสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน ผลการศึกษาด้านความสาคัญ พบว่า ปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสาคัญสูงสุด ในกระบวนการพิจารณาสินเชื่อ คือ ด้านการดูแลเอาใจใส่ รองลงมาคือ ด้านการรับประกัน/ความมั่นใจ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านรูปลักษณ์ และด้านการตอบสนองลูกค้า ตามลำดับ ผลการศึกษาด้านความพึงพอใจ พบว่า ปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจสูงสุด ในกระบวนการพิจารณาสินเชื่อ คือ ด้านการดูแลเอาใจใส่ รองลงมาคือ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการรับประกัน/ความมั่นใจ ด้านรูปลักษณ์ และด้านการตอบสนองลูกค้า ตามลำดับ การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค IPA (Important-Performance Analysis: IPA) พบว่า ปัจจัยทั้งหมดอยู่ใน Quadrant B (Keep up the good work) ได้แก่ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการรับประกัน/ความมั่นใจ ด้านการดูแลเอาใจใส่ ด้านการตอบสนองลูกค้า และ ด้านรูปลักษณ์ ซึ่งมีความหมายว่ากระบวนการพิจารณาสินเชื่อทำได้ดีแล้วให้รักษาคุณภาพของกระบวนการพิจารณาสินเชื่อนี้ไว้ต่อไป โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยทั้งในส่วนของความสำคัญและความพึงพอใจต่ำที่สุด คือด้านการตอบสนองลูกค้าซึ่งเป็นปัจจัยที่สำนักอนุมัติสินเชื่อรายย่อยภาค 8 ธนาคารออมสิน ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ โดยทำการปรับปรุงพัฒนากระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้ค่าเฉลี่ยของความสาคัญและความพึงพอใจในด้านการตอบสนองลูกค้าสูงขึ้นต่อไปen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532011 ธนัชญา พลเยี่ยม.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.