Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียงไกร อรุโณทยานันท์-
dc.contributor.authorนภัทร สุวรรณมณีen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T04:12:21Z-
dc.date.available2021-09-10T04:12:21Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72164-
dc.description.abstractIn recent years, provisioning urban green space has been highlighted as an essential strategy for urbanization planning and sustainable urban development. The non-motorized Transportation also has been promoted for decreasing the uses of fossil fuel. Walking is a part of transportation system that connects the others together. An appropriate walkway should be convenience, safe and aesthetics. Walkway facilities and roadside trees are the key elements of urban green spaces for recreational activities of urban residents that could provide psychological and physiological health benefits to the residents. This study therefore aims to investigate the human thermal comfort and acceptable range of temperature after short walks along walkways through evaluating the Physiological Equivalent Temperature (PET). Various environment factors were used to evaluate the psychological responses of participants. The results show that the pedestrians in Chiang Mai University have the thermal comfort at 25.2 °C PET across five walkways with the acceptable range of 24.6 - 32.0 °C PET. Moreover, the analytical results show that among the environment factors influencing the level of Physiological Equivalent Temperature, air temperature and wind speed are the most influencing ones. The results of the study can be used as a guidance to develop the physical and environmental features of the green walkways, while encouraging pedestrian usage.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์อุณหภูมิเทียบเท่าทางสรีรวิทยาที่มีผลต่อความสบาย เชิงความร้อนภายนอกอาคารของทางเดินเท้าสีเขียวen_US
dc.title.alternativeAnalysis of physiological equivalent temperature influencing outdoor thermal comfort of green walkwaysen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc629.047-
thailis.controlvocab.thashพื้นที่คนเดินเท้า-
thailis.controlvocab.thashทางเท้า-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมจราจร-
thailis.manuscript.callnumberว 629.047 น1611ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในช่วงหลายปี ที่ผ่านมานั้น การจัดสรรพื้นที่สีเขียวนับเป็นยุทธศาสตร์หลักในการวางแผนพัฒนาเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองอย่างยั่งยืน โดยควบคู่ไปกับการส่งเสริมการเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ (Non-Motorized Transportation) ซึ่งการเดินเท้านั้นเป็นส่วนหนึ่งในระบบขนส่งที่เชื่อมการเดินทางหลากหลายรูปแบบไว้ด้วยกัน โดยทางเดินเท้าที่ดีนั้นจะต้องมีความสะดวก ปลอดภัย รวมไปถึงมีสุนทรียภาพตามแนวทางเดิน โดยพืชพรรณตามทางเดินนั้นจัดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของพื้นที่สีเขียวที่เหล่าผู้พำนักอาศัยในเขตเมืองนิยมใช้เป็นพื้นที่สาหรับการพักผ่อนและกิจกรรมนันทนาการ การเข้าสัมผัสพื้นที่ดังกล่าวยังส่งผลดีต่อสุขภาวะทางกายและจิตใจของชาวเมืองอีกด้วยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินอุณหภูมิความสบาย และช่วงการยอมรับของอุณหภูมิของคนเดินเท้า และประเมินปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการตอบสนองทางร่างกายมนุษย์ภายหลังจากการเดินเท้าระยะสั้นบนทางเท้าภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยการประเมินอุณหภูมิเทียบเท่าทางสรีรวิทยา (Physiological Equivalent Temperature, PET) จากผลการสารวจคนเดินเท้าที่สัญจรผ่านทางเดินเท้า และได้พิจารณาอิทธิพลของแต่ละปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่ออุณหภูมิเทียบเท่าทางสรีรวิทยา โดยจากการศึกษาพบว่าคนเดินเท้าภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่นั้นมีอุณหภูมิความสบายเท่ากับ 25.2 °C PETและจากการวิเคราะห์ช่วงการยอมรับเชิงความร้อนของผู้ตอบแบบสอบถามนั้นพบว่ามีค่าระหว่าง 24.6 –32.0 °C PET ซึ่งจากการประเมินปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่ออุณหภูมิเทียบเท่าทางสรีรวิทยา คือ อุณหภูมิอากาศ และความเร็วลม โดยผลการศึกษาที่ได้นั้นสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางพัฒนาทางเดินเท้าสีเขียวทั้งในด้านกายภาพของทางเท้าและสิ่งแวดล้อมสองข้างทาง เพื่อส่งเสริมการใช้ทางเดินเท้าให้มากยิ่งขึ้นต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631009 นภัทร สุวรรณมณี.pdf8.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.