Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีรพงศ์ จิตเสงี่ยม-
dc.contributor.authorกัญจน์ สลีวงศ์en_US
dc.date.accessioned2021-09-10T04:05:33Z-
dc.date.available2021-09-10T04:05:33Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72161-
dc.description.abstractThis research presents the improvement of sub-standard lateritic soil using cement-polymer mixtures. Mixing polymer into cement to create such a cement-polymer mixture could cause the cement use reduction in the cement stabilization technique for roadway applications. Cement as a soil stabilizing agent has been popularly used to stabilize any sub-standard materials for the road. However, the cement-stabilized material has relatively less flexural strength and still prone to have a moisture sensitivity characteristic even it can provide good compressive strength. This study aims to determine a proper ratio between cement and polymer for using as a stabilizing agent for sub-standard lateritic soil. This polymer would assist gaining more flexural strength and less moisture sensitivity for such cement-stabilized lateritic soil. In this study, the cement-polymer mixtures in forms of the paste were investigated with cement type 1, styrene acrylic (SA) and styrene butadiene rubber (SBR) polymers to make a new type of laterite binder with varying the polymer content of 0, 5, 10, 15, 20% by dry mass of cement. Cement-polymer paste samples were cured for 7 and 28 days before a series of the compressive strength tests, the flexural strength tests, and the water absorption tests. The results revealed that the 10% polymer (SA) and 15% polymer (SBR) content of cement can provide the best compressive strength with better flexural strength and least water absorption compared to other mixtures. With this proper ratio of cement : Styrene acrylic (SA) polymer of 90 : 10 and Styrene butadiene rubber (SBR) of 85 : 15 is used as a binder varying the cement content 2, 4, 6, 8 and 10% by dry mass of sub-standard lateritic soil. The unconfined compressive strength test and water absorption test were tested to determine the appropriate amount for improving sub-standard lateral soil. It was found that cement : styrene acrylic (SA) and styrene butadiene rubber (SBR) that standardized laterite were used at equal amounts of 1.6% and 2.4%. The cement modified part used the amount equal to 3.3% which can reduce the consumption of binder and cement-polymer mixtures can prevent more moisture than normal cement. With this proper ratio, it can be further used in stabilizing the sub-standard lateritic soil for roadway application.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงดินลูกรังด้อยมาตรฐานด้วยวัสดุผสมซีเมนต์-โพลีเมอร์en_US
dc.title.alternativeImprovement of sub-standard lateritic soil with cement-polymer mixturesen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc620.191-
thailis.controlvocab.thashดินลูกรัง-
thailis.controlvocab.thashดิน -- คุณภาพ-
thailis.controlvocab.thashซีเมนต์-
thailis.controlvocab.thashถนน -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashวัสดุการทาง-
thailis.manuscript.callnumberว 620.191 ก113ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการปรับปรุงคุณภาพของดินลูกรังด้อยมาตรฐานด้วยวัสดุผสมซีเมนต์-โพลีเมอร์ (cement - polymer mixture) เพื่อลดปริมาณการใช้ซีเมนต์ลงในการปรับปรุงคุณภาพดิน ให้สามารถรับกำลังรับแรงอัดได้ตามมาตรฐานของกรมทางหลวง ซึ่งในปัจจุบันซีเมนต์ถูกใช้เพื่อการปรับปรุงคุณภาพดินลูกรังอยู่ แต่เนื่องด้วยดินที่ปรับปรุงด้วยซีเมนต์ จะมีค่ากำลังรับแรงอัดที่สูงแต่มีความสามารถในการรับแรงดัดต่ำ และก็ไวต่อการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากน้ำและความชื้น งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างซีเมนต์และโพลีเมอร์ (Polymers) ที่นำมาปรับปรุงคุณภาพดินลูกรังด้อยมาตรฐาน โดยที่จะให้โพลีเมอร์มาช่วยในการพัฒนาความสามารถในการรับแรดดัดและการทนต่อการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากน้ำและความชื้น โดยการศึกษานี้พิจารณาการพัฒนากำลังรับแรงอัดแกนเดียว กำลังการรับแรงดัด และความสามารถในการดูดซึมน้ำของดินลูกรังด้อยมาตรฐานที่ผสมซีเมนต์ประเภทที่ 1 และโพลีเมอร์ชนิด Styrene acrylic (SA) และ Styrene butadiene rubber (SBR) ในการทำเป็นวัสดุเชื่อมประสานชนิดใหม่ของดินลูกรัง โดยแทนที่ซีเมนต์ด้วยโพลีเมอร์ที่ 0, 5, 10, 15 และ 20% ที่อายุการบ่ม 7 และ 28 วัน จากผลการทดสอบพบว่าอัตราส่วนการแทนที่ด้วยโพลีเมอร์ชนิด Styrene acrylic (SA) 10% และโพลีเมอร์อร์ชนิด Styrene butadiene rubber (SBR) 15% มีค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดียวดีที่สุด และมีการพัฒนาการรับแรงดัดที่ดี ดังนั้นจึงนำอัตราส่วนซีเมนต์ : โพลีเมอร์ ที่ได้จากการทดสอบความต้านทานแรงอัด-ดัด ของคอนกรีตมาใช้ในการปรับปรุงดินลูกรังด้อยมาตรฐาน โดยใช้อัตราส่วนซีเมนต์ : โพลีเมอร์อร์ชนิด Styrene acrylic (SA) เท่ากับ 90 : 10 และโพลีเมอร์อร์ชนิด Styrene butadiene rubber (SBR) เท่ากับ 85 : 15 เป็นวัสดุเชื่อมประสานแทนซีเมนต์ในปริมาณ 2, 4, 6, 8 และ 10% ที่อายุการบ่ม 7 และ 28 วัน แล้วทำการทดสอบค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดียวต่อหน่วยพื้นที่ (Unconfined Compressive Strength) และทดสอบการดูดซึมน้ำ (Water Absorption Test) เพื่อหาปริมาณที่เหมาะสมในการนำมาปรับปรุงดินลูกรังด้อยมาตรฐาน พบว่าวัสดุเชื่อมประสานซีเมนต์ : โพลีเมอร์อร์ชนิด Styrene acrylic (SA) และโพลีเมอร์อร์ชนิด Styrene butadiene rubber (SBR) ที่ทำให้ดินลูกรังผ่านมาตรฐานจะใช้ปริมาณเท่ากับ 1.6% และ 2.4% ตามลำดับ ส่วนที่ปรับปรุงด้วยซีเมนต์จะใช้ปริมาณเท่ากับ 3.3% ซึ่งสามารถลดปริมาณการใช้วัสดุเชื่อมประสานได้ และวัสดุผสมซีเมนต์-โพลีเมอร์สามารถป้องกันความชื้นได้มากกว่าซีเมนต์ปกติได้ ด้วยอัตราส่วนที่เหมาะสมนี้จะสามารถนำไปใช้ในการรักษาเสถียรภาพดินลูกรังด้อยมาตรฐานสำหรับการใช้งานบนถนนen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631004 กัญจน์ สลีวงศ์.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.