Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72160
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม | - |
dc.contributor.author | กฤษดา ชีโนวัง | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-09-10T04:04:15Z | - |
dc.date.available | 2021-09-10T04:04:15Z | - |
dc.date.issued | 2020-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72160 | - |
dc.description.abstract | This paper presents to evaluate the artificial ballast for detector the ballast behaviors based on wireless technology. The most importance ballast behaviors are stress and displacement in ballast layer. In the past, Many researchers tried to analyze the ballast behaviors with numerical theory. This analysis gave the correct result in calculation but were not the real field data agent due to some factor was not excluded in numerical equation. Next, Many researchers developed and took many equipment to measure the real field behaviors. However, this testing method was a limitation due to the equipment had been installed by wire signal that made it difficult to installed and gave the wrong result because it was hold with the line signal. So, the equipment that ballast layer were needed is data transmission ability with wireless technology for installing in ballast layer during construction. The equipment would use microcontroller (Wemos D1 mini) to process and send data via wireless signal. The stress was detected by the Flex Sensor (RP-S40-ST) and displacement was measured by the Gyro Sensor GY-521 (MPU6050). The last, the equipment has to be down sizing with using PCB (Print Circuit Board) to reduce the impact of sizing to displacement behavior. The most importance of this equipment invent was calibration which had 3 section for testing. 1. The testing for stress calibration with using Flex Sensor 2. The testing for angle calibration 3. The testing for displacement calibration with acceleration comparison. In conclusion, this paper will give you the artificial ballast that can measure the ballast behaviors based on wireless technology which send the test information and show on google platform. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินพฤติกรรมชั้นหินโรยทางรถไฟประดิษฐ์ที่พัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของเครื่องตรวจจับเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of behavior of developed artificial ballast layer based on wireless sensor technology | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 552 | - |
thailis.controlvocab.thash | หิน | - |
thailis.controlvocab.thash | ทางรถไฟ | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบสื่อสารไร้สาย | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 552 ก918ก 2563 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์เครื่องตรวจวัดพฤติกรรมชั้นหินโรยทางบนพื้นฐานการรับ-ส่งข้อมูลเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย โดยในอดีตที่ผ่านมาได้อาศัยการประเมินพฤติกรรมจากการวิเคราะห์ในทางทฤษฎีตัวเลข แต่พฤติกรรมที่ได้จากการประเมินนี้อาจไม่ตรงกับพฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้นในสนาม ต่อมาได้มีการพัฒนาและนำเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมมาใช้ในการตรวจวัดในสนาม ซึ่งจะทำให้ได้ค่าพฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้นในสนามแต่การตรวจวัดด้วยวิธีนี้ที่ผ่านมายังมีข้อจำกัด คือ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดยังใช้การรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบสายสัญญาณ ซึ่งทำให้พฤติกรรมที่ตรวจวัดได้คลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากการที่เครื่องมือตรวจวัดถูกยึดโยงด้วยสายสัญญาณ ดังนั้นเครื่องมือที่ตรวจวัดพฤติกรรมของชั้นหินโรยทางรถไฟนี้จำเป็นต้องมีความสามารถในการรับ-ส่งข้อมูลแบบไร้สายสัญญาณได้เพื่อให้สามารถติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมนี้เข้าไปในชั้นหินโรยทางในระหว่างทำการก่อสร้างได้ โดยการประดิษฐ์เครื่องมือตรวจวัดจะใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ รุ่น Wemos D1 mini เพื่อประมวลผลและส่งสัญญาณแบบไร้สาย ใช้ Flex Sensor แบบสี่เหลี่ยม รุ่น RP-S40-ST ตรวจวัดพฤติกรรมความเค้นที่เกิดขึ้น และอาศัยการทำงานของ Gyro Sensor รุ่น GY-521 (MPU6050) เพื่อตรวจวัดพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของอนุภาคชั้นโรยทาง สิ่งที่สำคัญในการประดิษฐ์คือการสอบเทียบค่าที่ได้จากการตรวจวัด โดยจะถูกแบ่งการสอบเทียบความถูกต้องการตรวจวัดเป็น 3 การทดสอบ คือ 1. การสอบเทียบค่าความเค้นที่เกิดขึ้นต่อเครื่องตรวจวัด 2. การสอบเทียบการตรวจวัดค่าการหมุนรอบแกน 3. การสอบเทียบค่าความเร่งในการเคลื่อนที่ในแนวแกน เพื่อประเมินหาระยะการเคลื่อนตัว จากการประดิษฐ์เครื่องตรวจวัดพฤติกรรมของชั้นหินโรยทางรถไฟนี้พบว่าเครื่องตรวจวัดให้ค่าการตรวจวัดที่แม่นยำ และสามารถรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบไร้สายสัญญาณไปเก็บยังฐานข้อมูล Google Platform และทำการประมวลผลได้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610631003 กฤษดา ชีโนวัง.pdf | 6.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.