Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72159
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Thararat Chitov | - |
dc.contributor.author | Sasiwimon Kunthong | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-09-10T04:03:06Z | - |
dc.date.available | 2021-09-10T04:03:06Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72159 | - |
dc.description.abstract | Probiotic microorganisms are beneficial to the body, especially the gastrointestinal system, for they help maintain the intestinal balance and eliminate microorganisms that may adversely affect the body. The aims of this study were to examine the survival of microorganisms that were selected as probiotics in ice cream made of concentrated yogurt and concentrated kefir and to develop these ice cream products that have sufficiently high numbers of probiotic or beneficial bacteria. Survival of probiotic bacteria, including Bifidobacterium bifidum B4140, Lactobacillus caseinsubsp. casei B1922 and Leuconostoc mesenteroides TISTR473, in yogurt ice cream in relation to milk fat contents and types of sweeteners, and total microorganisms in kefir ice cream were studied. The results showed that B.bifidum B4140, L. casei B1922 and L. mesenteroides TISTR473 in the yogurt ice cream product that was stored at -20 °C for 90 days had average survival percentages of 56.15-74.77, 63.90-78.64, and 66.62-66.76, respectively. The milk types (the fat contents in the milk) and the types of sweeteners did not seem to have a significant effect on survival of the probiotic L. casei and L. mesenteroides, but a possible effect from sweeteners on survival of B. bifidum was noted (p ˂ 0.05). Overall, the process for production of ice cream from concentrated yogurt from whole or skimmed milk and natural sweeteners were developed. The processes supported survival of probiotics in yogurt ice cream and live bacteria in kefir, which survived at acceptably high numbers, ≥6 log CFU/ g, in these products after 3 months of frozen storage. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Survival of probiotic bacteria in ice cream from concentrated yogurt and kefir | en_US |
dc.title.alternative | การรอดชีวิตของแบคทีเรียโพรไบโอติกในไอศกรีมจากโยเกิร์ตเข้มข้นและคีเฟอร์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 641.862 | - |
thailis.controlvocab.thash | Probiotic bacteria | - |
thailis.controlvocab.thash | Ice cream, ices, etc. | - |
thailis.controlvocab.thash | Yogurt | - |
thailis.manuscript.callnumber | Th 641.862 S252S 2020 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | จุลินทรีย์โพรไบโอติกเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งจะช่วยรักษาสมดุลของลำไส้และกำจัดจุลินทรีย์อื่นที่อาจส่งผลเสียต่อร่างกาย ในการศึกษานี้มี จุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบการรอดของจุลินทรีย์ที่ถูกเลือกเป็นโพรไบโอติกในไอศกรีมที่ทำจาก โยเกิร์ตเข้มข้นและคีเฟอร์ระหว่างการเก็บรักษา และเพื่อพัฒนาให้ได้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวที่มีแบคทีเรีย โพรไบโอติกหรือแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในปริมาณที่เพียงพอ ในการศึกษา ได้ตรวจวิเคราะห์การรอด ชีวิตของแบคทีเรียโพรไบโอติก 3 ชนิด ได้แก่ Bifidobacterium bifidum B4140, Lactobacillus casei subsp. casei B1922 และ Leuconostoc mesenteroides TISTR473 ในไอศกรีมจากโยเกิร์ต เข้มข้นที่มีความแตกต่างของปริมาณไขมันนมและชนิดของสารให้ความหวาน รวมถึงได้ศึกษาการ รอดชีวิตของจุลินทรีย์ในไอศกรีมคีเฟอร์ ผลการศึกษาพบว่า B. bifidum B4140, L. casei B1922 และ L. mesenteroides TISTR473 ในผลิตภัณฑ์ไอศกรีมโยเกิร์ต มีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตตลอด ระยะการเก็บรักษา 90 วันที่ -20 °C เฉลี่ยเท่ากบั 56.15-74.77, 63.90-78.64 และ 66.62-66.76 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ซึ่งปริมาณไขมันในนมและชนิดของสารให้ความหวานไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับการรอดชีวิต ของ L. casei และ L. mesenteroides แต่สารให้ความหวานอาจมีผลต่อ การรอดชีวิตของ B. bifidum (p ˂ 0.05) โดยรวมแล้วกระบวนการผลิตไอศกรีมโดยใช้โยเกิร์ต เข้มข้นที่ทำจากนมสดหรือนมพร่องมันเนย รวมถึงสารให้ความหวานจากธรรมชาติที่รายงานใน การศึกษานี้เป็นกระบวนการที่สามารถใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ไอศกรีมที่ทำจากโยเกิร์ตเข้มข้น และคี เฟอร์ ซึ่งยังคงมีเชื้อแบคทีเรียโพรไบโอติกและแบคทีเรียในคีเฟอร์จำนวนไม่น้อยกว่า 6 log CFU/g หลังจาก 3 เดือนของการเก็บรักษาในสภาพแช่แข็ง | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610535902 ศศิวิมล ขุนทอง.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.