Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72158
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวัฒน์ เชาวสกู-
dc.contributor.authorชนิตา อยู่สุขขีen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T04:01:18Z-
dc.date.available2021-09-10T04:01:18Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72158-
dc.description.abstractThe genus Pseuduvaria belongs to tribe Miliuseae of subfamily Malmeoideae. Members of this genus are treelets and trees distributed in Southeast Asia (including southern China) to New Guinea and northern Australia. According to the generic monograph and subsequent studies, 57 species of Pseuduvaria have been reported, with 10 species occurring in Thailand. However, there are still several unidentifiable collections. Consequently, the objective of this study is to determine the taxonomic status of these unidentifiable collections from Thailand by molecular phylogenetic reconstruction (parsimony, maximum likelihood, and Bayesian methods) using a combination of six plastome regions (atpB-rbcL, psbA-trnH, and trnL-trnF intergenic spacers; matK and rbcL exons; trnL intron). Sequences of 48 species of Pseuduvaria and two species of outgroups were obtained from GenBank. Sequences of 12 Pseuduvaria accessions are produced in this study. On the basis of molecular phylogenetic analyses and detailed morphological examinations, three new species of Pseuduvaria from Thailand are recognized: Pseuduvaria sp. 1 and Pseuduvaria sp. 2 from Surat Thani Province, and Pseuduvaria sp. 3 from Narathiwat Province. Pseuduvaria sp. 1, Pseuduvaria sp. 2, P. setosa, P. rugosa, and P. trimera form a clade. In this clade Pseuduvaria sp. 1 is the sister group of P. setosa; both species are distinguishable from each other by diferences in indumentum on young twigs and leaf margin, petiole length, shape of inner petal glands, number of stamens per flower, and monocarp surface. The interspecific phylogenetic relationships of Pseuduvaria sp. 2 are obscure, but this species is more morphologically similar to Pseuduvaria sp. 1 and P. setosa regarding the number of flowers per inflorescence and petal color. Pseuduvaria sp. 2 is distinguishable from these two species by the dissimilar sepal appearance and shape of inner petal glands. Pseuduvaria sp. 3 belongs to a clade that also includes P. fragrans, P. gardneri, and P. multiovulata. Although the phylogenetic relationships in this clade is unresolved, Pseuduvaria sp. 3 differs from the other three species in several features: inner and outer petal shape, shape of inner petal glands, and number of stamens per flower. The number of Pseuduvaria species in Thailand are accordingly increased to 13.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleวิวัฒนาการชาติพันธุ์เชิงโมเลกุลของพืชสกุลสังหยู (วงศ์กระดังงา) โดยเน้นชนิดที่พบในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeMolecular phylogeny of the genus pseuduvaria (Annonaceae) with emphasis on species found in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc635.9-
thailis.controlvocab.thashกระดังงา-
thailis.controlvocab.thashความหลากหลายทางชีวภาพ-
thailis.manuscript.callnumberว 635.9 ช153ว 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพืชสกุลสังหยู (Pseuduvaria) จัดอยู่ในเผ่า Miliuseae วงศ์ย่อย Malmeoideae มีลักษณะวิสัยเป็น ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง กระจายพันธุ์ทางตอนใต้ของประเทศจีน เขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเกาะนิวกินี และทางตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย จากการศึกษาอนุกรมวิธาน พบว่า มีพืชสกุลสังหยูที่ได้รับการรายงานแล้วจานวน 57 ชนิด โดยในประเทศไทยพบจานวน 10 ชนิด อย่างไรก็ตามยังมีพืชสกุลสังหยูอีกหลายตัวอย่างที่ไม่สามารถระบุชนิดได้ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของ การศึกษาในครั้งนี้ คือ เพื่อกาหนดสถานะทางอนุกรมวิธานของตัวอย่างพืชดังกล่าวที่พบใน ประเทศไทยโดยสร้างแผนภูมิวิวัฒนาการชาติพันธุ์เชิงโมเลกุล (วิธีพาร์สิโมนี วิธีความเป็นไปได้ สูงสุด และวิธีเบย์เชียน) จากข้อมูลในพลาสโตมจานวน 6 ช่วงยีน (ช่วงระหว่างยีน atpB-rbcL, psbA-trnH และ trnL-trnF; เอก็ ซอน matK และ rbcL; อินทรอน trnL) ซึ่งนำข้อมูลลำดับเบสดีเอ็นเอ ของพืชสกุลสังหยูจานวน 48 ชนิด และพืชกลุ่มใกล้เคียงกับกลุ่มที่สนใจศึกษา (outgroup) จานวน 2 ชนิดมาจากฐานข้อมูล GenBank ส่วนลาดับเบสดีเอ็นเอของตัวอย่างพืชสกุลสังหยูอีก 12 ชนิด ได้มาจากการศึกษาในครั้งนี้ จากการวิเคราะห์บนพื้นฐานของวิวัฒนาการชาติพันธุ์เชิงโมเลกุลและ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา สามารถจาแนกเป็นพืชสกุลสังหยูชนิดใหม่ จานวน 3 ชนิด: Pseuduvaria sp. 1 แ ล ะ Pseuduvaria sp. 2 จาก จัง หวัดสุราษฏ์ธานี และ Pseuduvaria sp. 3 จากจังหวัดนราธิ วาสและยะลา ซึ่งพืช Pseuduvaria sp. 1 แล ะ Pseuduvaria sp. 2 ปรากฏ อยู่ในวงศ์วานเดียวกันกับ P. setosa, P. rugose และ P. trimera ซึ่งภายในวงศ์วานดังกล่าวพบว่า Pseuduvaria sp. 1 มีความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการใกล้ชิดกับ P. setosa มากที่สุด สามารถจาแนก พืชทั้งสองชนิดนี้ออกจากกันได้ด้วยความต่างของลักษณะขนบริเวณกิ่งและขอบใบ ความยาวก้านใบรูปร่างของต่อมบริเวณด้านในของกลีบดอกชั้นใน จำนวนเกสรเพศผู้ต่อดอก และพื้นผิวของผลย่อย ส่วนความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของ Pseuduvaria sp. 2 ยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่จากการศึกษา ลักษณะทางสัณฐานวิทยาพบว่า มีความคล้ายคลึงกับ Pseuduvaria sp. 1 และ P. setosa ในแง่ของ จานวนดอกต่อช่อดอก และสี ของกลีบดอก ทั้งนี้ Pseuduvaria sp. 2 สามารถแยกออกจาก พืชทั้ง 2 ชนิดดังกล่าวได้ด้วยความแตกต่างของลักษณะของกลีบเลี้ยง และรู ปร่ างของ ต่อมบริ เวณด้านในของกลีบดอกชั้นใน ส่วนพืช Pseuduvaria sp. 3 ปรากฏอยู่ในวงศ์วานที่ ประกอบด้วย P. fragrans, P. gardneri และ P. multiovulata ซึ่งความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของ สมาชิกภายในวงศ์วานนี้ยังไม่ชัด แต่อย่างไรก็ตาม Pseuduvaria sp. 3 มีความแตกต่างจากพืชอื่น ๆ ในวงศ์วานดังกล่าวนี้หลายลักษณะ ได้แก่ รูปร่างของกลีบดอกชั้นในและกลีบดอกชั้นนอก รูปร่ างของต่อมบริ เวณด้านในของกลีบดอกชั้นใน และจานวนเกสรเพศผู้ต่อดอก ดังนั้น จำนวนพืชสกุลสังหยูที่พบในประเทศไทยจึงเพิ่มขึ้นเป็น 13 ชนิดen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531077 ชนิตา อยู่สุขขี.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.