Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์รัตน์ นพฤทธิ์-
dc.contributor.authorอติวิชญ์ ธงพิทักษ์en_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:56:43Z-
dc.date.available2021-09-10T03:56:43Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72155-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study the teaching practices by using real-life situations to promote the probability literacy of Grade 11 students and to study the level of probability literacy of Grade 11 students who studied with real-life situations. The target group was 35 students from Grade 11 of Sanpatong Wittayakom school, Sanpatong district. Chiang Mai Province. The research instruments consisted of 1) the lesson plans using real-life situations taught through the method of Küchemann & Hoyes (2008) comprised 4 steps: step 1, working on the task with students own; step 2, follow up the lesson; step 3, presentation; and step 4, conclusion and questioning 2) the worksheets, and 3) the parallel probability literacy tests using as pre and post-test. Data were analyzed by percentage and content analysis. The results showed that 1) in selecting the situations for learning provision, teachers should choose practical situations in daily life and using mathematics to solve problems. In terms of class discussion, there should be a small group discussion in follow up the lesson stage, then expand to a discussion for the whole class 2) the percentages of students who had the probability literacy in level 4 in each construct of probability literacy which is 1) sample space, 2) theoretical probability, 2/1) probability of the union of events and mutually exclusive events, 2/2) probability of the difference of two events, 2/3) probability of the complementary events 3) experimental probability of an event, 4) probability comparison, 5) conditional probability, and 6) independence increased. The percentage increases from post-test of each construct were 16.67, 56.67, 36.67, 20.00, 10.00, 33.33, 96.67, 26.67, 30.00, and 40.00, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้สถานการณ์ในชีวิตประจำวันเพื่อส่งเสริมการรู้ความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeUsing real-life situations to promote probability literacy of grade 11 studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc373.1983-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashสังคม -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.manuscript.callnumberว 373.1983 อ143ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการสอนโดยใช้สถานการณ์ในชีวิตประจำวันเพื่อส่งเสริมการรู้ความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 และเพื่อศึกษาระดับการรู้ความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรียนโดยใช้สถานการณ์ในชีวิตประจำวัน กลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 1 โรงเรียนสันป่ าตองวิทยาคม อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องความน่าจะเป็นที่ ใช้สถานการณ์ในชีวิตประจำวัน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่สอนโดยใช้วิธีการของ Küchemann & Hoyes (2008) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอนคือ ขั้นที่ 1 ขั้นการพยายามทำกิจกรรมด้วยตนเอง ขั้นที่ 2 ขั้นการติดตามกิจกรรมของบทเรียนที่ให้ ขั้นที่ 3 ขั้นการนาเสนอ และขั้นที่ 4 ขั้นสรุปและ ซักถาม 2) ใบกิจกรรม และ 3) แบบวัดการรู้ความน่าจะเป็ นสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 8 ข้อ จำนวน 2 ฉบับที่คู่ขนานกัน ใช้สาหรับวัดก่อนและหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการเลือกสถานการณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ควรเลือกใช้ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้จริงในชีวิตประจำวัน สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาช่วยในการแก้ปัญหาได้ในการอภิปรายในชั้นเรียน ควรมีการอภิปรายแบบกลุ่มย่อยในขั้นการติดตามกิจกรรมของบทเรียนที่ให้ แล้วจึงขยายเป็นการอภิปรายทั้งชั้นเรียน และกลุ่มในการอภิปรายที่ดีควรมีควรมีจำนวน 3-5 คน 2)ร้อยละของนักเรียนที่มีระดับการรู้ความน่าจะเป็นอยู่ในระดับ 4 ในแต่ละด้านของการรู้ความน่าจะเป็นซึ่งประกอบด้วย 1) ปริภูมิตัวอย่าง 2) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ในเชิงทฤษฎี 2/1) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ยูเนียนกัน และที่ไม่เกิดร่วมกัน 2/2) ความน่าจะเป็นของผลต่างของเหตุการณ์ 2/3) ความน่าจะเป็นของคอมพลีเมนต์ ของเหตุการณ์ 3) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดจากการลงมือทดลอง 4) การเปรียบเทียบความน่าจะเป็น 5) ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข และ 6) ความน่าจะเป็นแบบมีอิสระต่อกัน หลังเรียนมีค่าเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน โดยมีร้อยละการเพิ่มขึ้นในแต่ละด้านเท่ากับ 16.67, 56.67, 36.67, 20.00, 10.00, 33.33, 96.67, 26.67, 30.00 และ 40.00 ตามลำดับen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610231010 อติวิชญ์ ธงพิทักษ์.pdf10.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.