Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWarisa Wisittipanich-
dc.contributor.advisorKomgrit Leksakul-
dc.contributor.advisorKorrakot Yaibuathet Tippayawong-
dc.contributor.authorDollaya Buakumen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:37:02Z-
dc.date.available2021-09-10T03:37:02Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72149-
dc.description.abstractThis research focus on internal operational management in a cross docking terminal as an internal task scheduling problem. Based on a literature review, studies pertaining to internal task scheduling in cross docking are scarce. Therefore, this research aims to fill the research gap in the cross docking platform by focusing on an internal task scheduling problem and considered resource allocations in cross docking. Novel mathematical models of deterministic and stochastic internal task scheduling in cross docking were proposed for minimizing total tardiness of customer orders. The model aims to simultaneously assign internal cross dock working teams and transportation equipment to obtain the optimal internal task schedule in a single unloading activity. However, the internal task scheduling problem in cross docking is NP-hard. Therefore, metaheuristic approaches were considered for addressing complexities in real-world practices. For solving deterministic internal task scheduling problem, a novel self-learning differential evolution (SLDE) algorithm for addressing large-scale internal tasks scheduling problems in cross docking was proposed. The proposed SLDE aims to increase the search capability of its original differential evolution (DE). The key concept of SLDE is to allow a DE population to learn the capabilities of different search strategies and automatically adjust itself to potential search strategies. The performance of the proposed algorithms was evaluated on a set of generated data based on a real case scenario of a real word problem; subsequently, the performance results are compared with results obtained from GA, PSO and DE. Numerical results demonstrate that the proposed SLDE outperforms other algorithms in terms of solution quality and convergence behavior by providing superior solutions using fewer function evaluations. Subsequently, modified SLDE algorithms (MSLDE1 and MSLDE2) were proposed for solving stochastic internal task scheduling problem. Additional terminate conditions were added to MSLDE1 and MSLDE2 to improve computational time. Besides, a different technique to prioritize the strategy was applied to MSLDE2 to improve solution quality. The performance of the proposed algorithms was evaluated on a set of generated data based on a real case scenario of a real word problem. Numerical results showed that SLDE, MSLDE1 and MSLDE2 outperforms other algorithms in terms of solution quality and convergence behavior. Moreover, MSLDE1 and MSLDE2 outperforms the other algorithms in term computational time. In addition, facility cost in term transferring equipment number was analyzed based on trade-off features between cost and total tardiness. Thus, solutions obtained from the cost analysis provide the decision maker with good insights into possible alternative for the final decision on investment of facility in cross docking. According to computational experiment results, GA indicated the lowest performance due to low population diversity. PSO and DE yielded better performance than GA, however, the diversification of PSO is less than DE thus DE has better performance than PSO. The proposed modified DE algorithms indicated the highest performance according to the exploration ability was enhanced. It is noteworthy that this results were form solving large-scale internal task scheduling problems on specific key parameters of each algorithm only. The results could be changed if we solve other problems or consider the difference range of key parameter setting.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleSolving task scheduling problem in cross docking by modified differential evolution algorithmen_US
dc.title.alternativeการแก้ปัญหาการจัดตารางงานในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าด้วยวิธีดัดแปลงวิวัฒนาการผลต่างen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc658.53-
thailis.controlvocab.thashScheduling-
thailis.controlvocab.thashProduction scheduling-
thailis.controlvocab.thashTime management-
thailis.manuscript.callnumberTh 658.53 D665S 2020-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการจัดการการปฏิบัติงานภายในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าซึ่งเป็นปัญหาการจัดตารางงาน จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าการศึกษาเกี่ยวกับการจัดตารางงานภายในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้ามีน้อยมาก ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อเติมเต็มช่องว่างในงานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการ การปฏิบัติงานในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้า โดยมุ่งเน้นไปที่ปัญหาการจัดตารางงานและข้อจากัดด้านการใช้ทรัพยากรในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าให้สอดคล้องกับปัญหาที่พบได้ในโลกแห่งความเป็นจริง งานวิจัยนี้ได้นำเสนอแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาการจัดตารางงานในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าทั้งแบบที่มีตัวแปรที่กำหนดค่าแน่นอน (Deterministic) และแบบที่มีตัวแปรสุ่ม (Stochastic) เพื่อให้มีความล่าช้ารวมในการส่งสินค้าให้กับลูกค้าน้อยที่สุด (Minimize tardiness) แบบจำลองนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อมอบหมายงานให้ผู้ปฏิบัติงานไปพร้อมกับกำหนดการใช้อุปกรณ์ขนย้ายภายในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้า เพื่อให้ได้ตารางงานที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการขนถ่ายครั้งเดียว (Single unloading) อย่างไรก็ตามปัญหาการจัดตารางงานในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าเป็นแบบ NP-hard ดังนั้นจึงมีการพิจารณาวิธี เมตาฮิวริสติก เพื่อจัดการกับความซับซ้อนของปัญหาในโลกแห่งความเป็นจริง สำหรับการแก้ปัญหาที่มีตัวแปรที่กำหนดค่าแน่นอน การศึกษานี้ได้เสนอวิธีดัดแปลงวิวัฒนาการผลต่างชื่อว่า Self-Learning Differential Evolution (SLDE) สำหรับการแก้ปัญหาการจัดตารางงานที่มีขนาดใหญ่ โดยวิธี SLDE ที่นำเสนอมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มความสามารถในการค้นหาคำตอบของวิธีวิวัฒนาผลต่าง แบบเดิม โดยแนวคิดหลักของวิธี SLDE คือการทำให้ประชากรในอัลกอริทึม เรียนรู้ความสามารถของกลยุทธ์การค้นหาต่างๆและปรับตัวเองให้เข้ากับกลยุทธ์การค้นหาที่มีศักยภาพโดยอัตโนมัติ ซึ่งประสิทธิภาพของอัลกอริทึมที่นำเสนอได้รับการประเมินจากชุดข้อมูลที่สร้างขึ้นจากสถานการณ์จริงของศูนย์กระจายสินค้าแห่งหนึ่ง จากนั้นจึงนำผลลัพธ์ที่ได้จาก SLDE ไปเปรียบเทียบกับผลลัพธ์ที่ได้รับจาก GA, PSO และ DE พบว่า SLDE มีประสิทธิภาพเหนือกว่าอัลกอริทึมอื่น ทั้งในแง่ของคุณภาพของคำตอบและพฤติกรรมการลู่เข้าหาคำตอบ ในการแก้ปัญหาที่มีตัวแปรสุ่ม ได้มีการนำเสนอวิธีการดัดแปลง SLDE เป็น MSLDE1 และ MSLDE2 โดยการเพิ่มเงื่อนไขในการหยุดการค้นหาคำตอบเพื่อลดเวลาในการคำนวณของ SLDE อีกทั้ง MSLDE2 ยังเพิ่มความเร็วในการลู่เข้าหาคำตอบ ด้วยการใช้เทคนิคการเลือกกลยุทธ์การค้นหาคำตอบ จากคุณภาพของคำตอบสุดท้าย การแก้ปัญหาที่มีตัวแปรสุ่มในการจัดตารางงานในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้า ประสิทธิภาพของอัลกอริทึมที่เสนอได้รับการประเมินจากชุดของปัญหา ซึ่งผลลัพธ์เชิงตัวเลขแสดงให้เห็นว่า SLDE, MSLDE1 และ MSLDE2 มีประสิทธิภาพดีกว่าอัลกอริทึมอื่น ทั้งในแง่ของคุณภาพของคำตอบและพฤติกรรมการลู่เข้าหาคำตอบ ยิ่งไปกว่านั้น MSLDE1 และ MSLDE2 มีเวลาในการคำนวณต่ำกว่าอัลกอริทึมอื่น นอกจากนี้ต้นทุนในด้านอุปกรณ์ขนย้ายภายในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าได้ถูกวิเคราะห์เทียบกับความล่าช้ารวมด้วยวิธีการดัดแปลงวิธีวิวัฒนาผลต่าง ช่วยให้ผู้ตัดสินใจในการลงทุนสามารถวิเคราะห์และกำหนดการลงทุนภายในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าได้อย่างเหมาะสมตามความต้องการของผู้ตัดสินใจ เนื่องจากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า GA มีประสิทธิภาพในการหาคำตอบต่ำที่สุดเนื่องจากความหลากหลายของประชากรค่อนข้างต่ำ ส่วน PSO และ DE มีประสิทธิภาพดีกว่า GA อย่างไรก็ตามความหลากหลายของประชากรของ PSO น้อยกว่า DE ดังนั้น DE จึงมีประสิทธิภาพดีกว่า PSO โดยวิธีการดัดแปลงวิธีวิวัฒนาผลต่าง มีประสิทธิภาพในการหาคำตอบดีที่สุดเนื่องจากมีความหลากหลายของประชากรและมีความสามารถในการหาคำตอบสูง อย่างไรก็ตามผลที่ได้นี้มาจากการแก้ปัญหาการจัดตารางงานที่มีขนาดใหญ่ด้วยค่าพาราเมเตอร์ของอัลกอริทึมที่กำหนดในการศึกษานี้เท่านั้น ซึ่งผลอาจเปลี่ยนแปลงได้หากทำการแก้ปัญหาอื่นหรือใช้ช่วงของค่าพาราเมเตอร์ที่แตกต่างออกไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600651012 ดลยา บัวคำ.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.