Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTa-Wei Chu-
dc.contributor.advisorAmporn Jirattikorn-
dc.contributor.authorMaw Thoe Myaren_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:19:47Z-
dc.date.available2021-09-10T03:19:47Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72142-
dc.description.abstractMyanmar’s politics has dramatically transited to pragmaticism under the civilian government in 2011. The political transition was initiated with the positive outcomes that aimed to bring the human security for its citizens. The government has conducted peace building processes with many ethnic armed organizations (EAOs) around Myanmar. Peace building processes have reduced human rights abuses and provided peace in some ethnic minority states. Among them, Karenni State was one of the longstanding conflicts affected areas that has engaged with the peace building process with the Myanmar government in 2012. Peace building process in Karenni State especially provides hopes for the Internally Displaced Person (IDPs). The IDPs in Karenni State have embraced the voluntary resettlement and return process in order to access the land while the peace process is ongoing. This thesis has studied the broadened dimension of the Myanmar’s peace building process at the grassroots level in Karenni State. The concept of political transition is provided to understand the root causes of the ethnic armed conflicts. Moreover, the concept of human security analyzes how the state actors provide the human security to its citizens. This thesis also examines the development of new land laws under the Myanmar political transition and its implications on the IDP’s access to land. Theory of access is used to conceptualize the right based access and structural and relation-based access to land of the Karenni IDPs. Qualitative research method whereby the empirical data driven from the ethnographic field research along with the various data collection methods such as interviews and participant observation has been employed. Analysis of the responses have demonstrated that the peace building process in Karenni State is deadlocked due to lack of trust, incapability of peace negotiators, violation of the bilateral agreement, misuse of the power and high centralization. Additionally, the implication of reformed land laws, lack of rule of laws and lack of recognition of the ethnic customary land laws provides human insecurities for the Karenni IDPs. Although Myanmar’s political transition and recent reform of land laws has brought solutions to some areas, this study has found that the solutions do not positively work for the Karenni IDPs in terms of access to land. Two IDPs villages of Daw Klaw Le village and Daw So Shay village have shown the distinction of human security and the way to access the land based on the extent of state actor’s predomination. Hence, this thesis has argued that the state’s predomination on the IDPs’ access to land agenda is threatening to IDP’s livelihood security; hence, the state’s move fails to bring human security to these IDPs.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleImplication of Myanmar Political Transitions on IDPs’ Access to Land and Their Human Security in Karenni Stateen_US
dc.title.alternativeผลของการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของพม่าต่อการเข้าถึงที่ดินและความมั่นคงของมนุษย์ของกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศในรัฐคะเรนนีen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc320.9591-
thailis.controlvocab.thashBurma -- Politics and government-
thailis.controlvocab.thashEthnic groups -- Burma-
thailis.controlvocab.thashLand use -- Law and regislation -- Burma-
thailis.manuscript.callnumberTh 320.9591 M462I 2020-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractระบอบการเมืองการปกครองของเมียนมาร์ได้เปลี่ยนผ่านไปสู่วิถีปฏิบัตินิยมอย่างเห็นได้ชัดภายใต้รัฐบาลพลเรือนตั้งแต่ปี 2011 การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองนี้เริ่มต้นด้วยผลลัพธ์ในเชิงบวกที่เน้นย้าความสาคัญของความมั่นคงของมนุษย์ที่มีพลเรือนภายในประเทศ รัฐบาลเมียนมาร์ริเริ่มกระบวนการสร้างสันติภาพกับกองกาลังกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ (EAOs) ภายในประเทศ อันส่งผลให้เกิดการลดจานวนลงของการละเมิดสิทธิมนุษยชนและเกิดสันติภาพขึ้นในรัฐชาติพันธุ์ในบางพื้นที่ รัฐคะเรนนี (Karenni State) เป็นตัวอย่างของหนึ่งในพื้นที่ที่เคยได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งอันยาวนานและอยู่ในกระบวนการสร้างและฟื้นฟูสันติภาพร่วมกับรัฐบาลเมียนมาร์มาตั้งแต่ปี 2012 กระบวนการสร้างสันติภาพดังกล่าวนั้นเปรียบเสมือนความหวังของบรรดากลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (IDPs) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้พลัดถิ่นของรัฐคะเรนนีที่อยู่ในกระบวนการจัดสรรพื้นที่สาหรับการย้ายกลับและตั้งถิ่นฐานใหม่ภายใต้กระบวนการสร้างสันติภาพที่กาลังดาเนินอยู่ในขณะนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งประเด็นการศึกษาด้านมิติที่กว้างขึ้นของกระบวนการสร้างสันติภาพในระดับรากหญ้าของรัฐคะเรนนี โดยใช้แนวคิดด้านการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองเพื่อทาความเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาความขัดแย้งระหว่างกองกาลังกลุ่มชาติพันธุ์ นอกจากนี้ยังประยุกต์ใช้แนวคิดด้านความมั่นคงของมนุษย์เพื่อวิเคราะห์การสร้างความมั่นคงของมนุษย์ให้กับพลเรือนโดยตัวแสดงของภาครัฐ นอกจากนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ยังพิจารณาถึงการพัฒนากฎหมายที่ดินฉบับใหม่ภายใต้การเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของเมียนมาร์และความเกี่ยวพันของกฎหมายนี้กับสิทธิการเข้าถึงที่ดินของกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ นอกจากนี้ทฤษฎีการเข้าถึง (theory of access) จะถูกนามาสร้างกรอบ แนวคิดของสิทธิการเข้าถึงพื้นที่และความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของการเข้าถึงพื้นที่ของกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศของรัฐคะเรนนี วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ อันประกอบไปด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์จากการเก็บข้อมูลของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ ตลอดจนถึงการเก็บข้อมูลด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การสัมภาษณ์และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม เป็นต้น การวิเคราะห์ข้อมูลชี้ให้เห็นว่ากระบวนการสร้างสันติภาพในรัฐคะเรนนีเกิดสภาวะชะงักงัน อันมีสาเหตุมาจากการขาดความเชื่อมั่น ความไม่มีประสิทธิภาพของผู้เจรจาสันติภาพ การฝ่าฝืนข้อตกลงร่วมการใช้อำนาจในทางที่ผิด ตลอดจนการรวมศูนย์ของอานาจที่เข้มข้น นอกจากนี้ความเกี่ยวพันของกฎหมายที่ดินฉบับใหม่ การขาดหายไปของหลักนิติธรรม รวมไปถึงการมองข้ามกฎหมายที่ดินอันเป็นจารีตประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์ทาให้เกิดสภาวะไร้ความมั่นคงของกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศของรัฐคะเรนนี แต่ถึงแม้ว่าการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองและการปฏิรูปกฎหมายที่ดินจะนามาซึ่งการแก้ปัญหาให้กับบางพื้นที่ งานวิจัยชิ้นนี้พบว่าการแก้ปัญหาดังกล่าวไม่ส่งผลในเชิงบวกต่อกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศของรัฐคะเรนนีในแง่ของการเข้าถึงพื้นที่ หมู่บ้านของกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ ได้แก่ Daw Klaw Le และ Daw So Shay ได้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างในแง่ความมั่นคงของมนุษย์และความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงพื้นที่ที่เป็นภาพสะท้อนของพลังอานาจที่มาจากตัวแสดงภาครัฐ ด้วยเหตุนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเสนอว่า ความมั่นคงของวิถีชีวิตของกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศเชิงสิทธิด้านการเข้าถึงการใช้พื้นที่ถูกแทรกแซงด้วยพลังอานาจของภาครัฐ อันนำมาซึ่งการสร้างความมั่นคงของมนุษย์ให้กับกลุ่มผู้พลัดถิ่นภายในประเทศที่ล้มเหลวในที่สุดen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600435804 MAW THOE MYAR.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.