Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72137
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤนาถ ศราภัยวานิช | - |
dc.contributor.author | พีระกมล คชชา | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-09-10T02:49:57Z | - |
dc.date.available | 2021-09-10T02:49:57Z | - |
dc.date.issued | 2020-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72137 | - |
dc.description.abstract | The purpose of the independence study is to analyse the objective of music industry management on YouTube in Thailand in order to percieve management mechanisms that Thailand musician YouTuber apply to manage organization or channel. Moreover, these management machanisms from this study would be a crucial guideline for YouTubers to administer success to their organization or channel goal. Hence, the semi- structure interview was execised as a data collection tool by selected 7 purposive samplings to interview and analysed a management of that interviews afterwards. Studies show that the representative samples are composed of 5 males and 3 females, which aged between 24-41 years. All interviewees’ highest education is bachelor’s degree and they have 5-11 years work experience as YouTuber with 200,000-1,600,000 subscribers and 40,600,000-505,000,000 views and earned income 10,000-600,000 baht per month and 3 persons are unidentified. There are 64-674 videos and the highest view range is 7,012,300-181,671,600 views. In planing criteria, the goal of channel should not focus only on the way to be famous on YouTube but also as an indirect pathway to develop their musician carrer such as become an affiliated musician or a musician in record label. In addition, they should agree to a p p l y a growth- oriented strategy, which using consistent and continuous production that on average, a product should be produced once a week. Furthermore, the 3 integrated strategies, focus on reduced cost, reached to targets, and created specific character, could claim in a business strategy besides there is an implementation strategy that define a obvious timeline for each production process. In organizing strategy, YouTube channel has an unstructured organization structure. They prefer to work with friend and that friend and family atmosphere would make all process smooth and quick. There should have at least 2 departments in each YouTube channel in music division, which is music and video department. In Human Resource Management, a trustable person and previous collabarate worker should be sellected to the team. Moreover, each channel should specifying criteria and qualifications that are appropriate for channel’s work pattern, which should be paid case by case besides the income should be divided for further development that related to channel administration. In the part of Leading, the liberal leader is the most appropriate person to manage channel and factors that persuade team to achieve the goals is a clear communication about goals of each work in what form that work should be produced. In Controlling part, there should have restrictions on communication, standard of work, and team’s motivation. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการของธุรกิจดนตรีบนยูทูปในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Management of music businesses on Youtube in Thailand | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.8 | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการธุรกิจ | - |
thailis.controlvocab.thash | ดนตรี -- ธุรกิจ | - |
thailis.controlvocab.thash | การวางแผนสื่อโฆษณา | - |
thailis.controlvocab.thash | วีดิทัศน์บนอินเทอร์เน็ต | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 658.8 พ3711ก 2563 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการของธุรกิจดนตรีบนยู ทูปในประเทศไทย เพื่อให้ทราบถึงการจัดการในองค์กรหรือช่อง (Channel) ที่ YouTuber สาขา ดนตรีในประเทศไทยใช้ และเพื่อใช้เป็นแนวทางให้กับ YouTuber ในการดำเนินการจัดการองค์กร หรือช่อง (Channel) ให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย โดยใช้กรอบแนวคิดด้านการจัดการเป็น แนวทางในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structure Interview) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล โดยใช้การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 7 คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์การจัดการ จากการศึกษา พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ในกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย 5 คน เพศหญิง 2 คน มีอายุอยู่ในช่วง 24 – 41 ปี ทุกคนมีระดับการศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์ ทำงาน YouTuber มาแล้วตั้งแต่ 5 - 11 ปี มีจำนวนผู้ติดตาม (Subscribers) อยู่ในช่วง 200,000 – 1,600,000 คน มีจนวนผู้เข้าชม (Views) ในช่วง 40,600,000 - 505,000,000 views มีรายได้ในช่วง 10,000 – 600,000 บาท/เดือน และไม่สามารถระบุได้ 3 ราย มีจำนวนวีดีโอทั้งหมด 64 – 674 วีดีโอ และมียอดผู้เข้าชมของวีดีโอที่มีผู้เข้าชมเยอะที่สุด ในช่วง 7,012,300 - 181,671,600 views ในด้านการวางแผนนั้น เป้าหมายของการทำChannel ควรเป็นการตั้งเป้าเพื่อให้ เป็นช่องทางในการเติบโตของสายงานอาชีพของตนในทางอ้อม เช่นการเป็นศิลปินในสังกัด หรือ ในค่ายใหญ่ มิใช่การเติบโตโดยมีชื่อเสียงแค่บน YouTube เท่านั้น กลยุทธ์ในระดับองค์กรที่ควรใช้ คือกลยุทธ์แบบเน้นการเติบโต โดยอาศัยการผลิตผลงานที่สม่ำเสมอและต่อเนื่อง โดยเฉลี่ยควรผลิต ผลงานลงสัปดาห์ละ 1 ผลงาน ในส่วนของกลยุทธ์ในระดับธุรกิจ สามารถใช้กลยุทธ์แบบผสมผสาน ทั้ง 3 กลยุทธ์คือ เน้นการลดต้นทุน / เจาะกลุ่มเป้าหมาย และสร้างเอกลักษณ์หรือสร้างความแตกต่างและมีการวางกลยุทธ์ในการปฏิบัติการในเรื่องของกาหนดระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนการผลิต ผลงานให้ชัดเจน ในส่วนของการจัดองค์กรนั้น เป็นองค์กรแบบไม่เป็นทางการ เป็นการอยู่ร่วมกัน แบบเพื่อน พี่น้อง จะทำให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่นและรวดเร็ว ซึ่งฝ่ ายที่ควรมีเป็นหลักในการ ทำงาน YouTuber สาขาดนตรีคือ1. ฝ่ ายดนตรี 2. ฝ่ ายวีดีโอ ในส่วนของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ควรคัดเลือกผู้ที่สามารถไว้ใจได้ และเคย ทางานด้วยกันมาก่อน โดยกาหนดเกณฑ์และคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อรูปแบบการทางานของ Channel ซึ่งควรกำหนดค่าตอบแทนเป็นรายผลงาน และควรมีการแบ่งรายได้ไว้เพื่อพัฒนาในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ Channel ต่อไป ในส่วนของการนำผู้นำแบบเสรีนิยม มีความเหมาะสมที่สุดในการทำ Channel และปัจจัยจูงใจที่ส่งผลให้ทีมงานสามารถผลิตผลงานให้สาเร็จตามเป้าหมาย คือการสื่อสารให้ ชัดเจนถึงเป้าหมายในการผลิตผลงานในแต่ละชิ้นว่าต้องการให้ผลงานชิ้นดังกล่าวออกมาใน รูปแบบใด ในส่วนของการควบคุมนั้น ควรควบคุมในเรื่องของการสื่อสาร คุณภาพของ ผลงาน และแรงจูงใจในการทำงานของทีมงาน | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
581532049 พีระกมล คชชา.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.