Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72130
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr. Sermkiat Jomjunyong-
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr. Apichat Sopadang-
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr. Komgrit Leksakul-
dc.contributor.authorSalinee Santiteerakulen_US
dc.date.accessioned2021-05-17T07:45:40Z-
dc.date.available2021-05-17T07:45:40Z-
dc.date.issued2557-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72130-
dc.description.abstractThis work aims to clarify a sustainability implementation into supply chain and to develop a tool for measuring sustainability performance in supply chain and give the suggestions for improving the sustainability performance for electronic industry. This research has divided into three phases; the first phase is to develop a sustainability measurement framework in supply chain. This framework allows decision makers identifying the sustainability measures based on their interesting area in sustainability criteria. There are eight categories of sustainability criteria in this framework which are financial, nonfinancial, raw material, natural resources, energy, human health and safety, human resources development, and ethical issues. After developing the conceptual framework for measuring sustainability performance, this work has proposed an approach to construct the performance measurement model. This work enhances the valuable of adopting the value chain model and the process-based approach for constructing the sustainability measures model. This leads to an implementation of the proposed framework allowing decision makers to measure sustainability performance in any process or activity in the company and its supply chain. In order to implementing the proposed conceptual framework and the model construction method in practical situation, this work has selected the supplier performance evaluation problem for measuring sustainability performance. The second phase of this work is the development of the tool for measuring sustainability performance by focusing on supplier evaluation problem. The measurement tool is developed based on a fuzzy analytical hierarchy process (FAHP) approach. This thesis has proposed three FAHP methods by modified the extent analysis method (Method-I), modified the normalization approach (Method-II), and employed the weakest t-norm arithmetic (Method-III) for determining the fuzzy priority weight. These methods are easy to adopt in real-life problem in industry. The method-I is less complexity than method-II and method-III respectively, but the method-I also obtains the larger fuzzy spread than method-II and method-III respectively. It depends on the decision makers to select the proposed FAHP among these three methods for implementing in their situations. The results from supplier’s performance help manager for setting the direction to improve supplier’s sustainability by using the normalization rating from measurement model. The third phase of this thesis is an implementation of the proposed framework and proposed FAHP in the case study company in Thai electronics industry. The case study company aims to evaluate sustainability performance of their suppliers in order to manage and improve supplier’s performance. The sustainability performance measurement model consists of 10 indicators and 25 sustainability measures based on three dimensions (economic, environmental, and social). It is found that the importance weight of economic, environmental, and social dimension is 50.87%, 34.86%, and 15.14% respectively. It means that an economic performance is still the most important and the social performance is the less important of supplier’s evaluation. The case study company works with more than 200 suppliers. In term of assessing supplier’s performance, an absolute measurement approach is proposed because it is suitable for dealing with a large number of suppliers. However, this work has selected five suppliers as an example to implement and validate the proposed model. The result of implementation in the case study shows that the proposed FAHP can be adopted in the real-life situation and it is less complicate that the lambda-max method which is an accepted FAHP method.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleSupplier Performance Measurement System for Sustainable Supply Chain Management in Electronics Industryen_US
dc.title.alternativeระบบการประเมินศักยภาพผู้ส่งมอบสำหรับการจัดการห่วงโซ่อุปทาน อย่างยั่งยืนในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้การประยุกต์ใช้ความยั่งยืนในโซ่อุปทานนั้นเกิดความชัดเจนมาก ขึ้น และต้องการพัฒนาเครื่องมือสำหรับวัดสมรรถนะด้านความยั่งยืนในโซ่อุปทานรวมถึงให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงสมรรถนะด้านความยั่งยืนของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ งานวิจัยนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่หนึ่งเป็นการพัฒนากรอบแนวคิดการวัดความยั่งยืนในโซ่อุปทาน กรอบแนวคิดนี้ช่วยให้ผู้ตัดสินใจสามารถระบุตัวชี้วัดความยั่งยืนในด้านที่สนใจได้ ซึ่งตัวชี้วัดด้าน ความยั่งยืนแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ที่ไม่ใช่การเงิน ด้านวัตถุดิบ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านพลังงาน ด้านสุขภาพและความปลอดภัย ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการจริยธรรม หลังจากการพัฒนากรอบแนวคิดแล้ว งานวิจัยได้ได้เสนอวิธีการในการสร้าง รูปแบบการวัดสมรรถนะด้านความยั่งยืน ซึ่งนำไปสู่การประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดที่นำเสนอในการวัด สมรรถนะด้านความยั่งยืนในกระบวนการหรือกิจกรรมใด ๆ ก็ตามของบริษัทและของโซ่อุปทาน ซึ่ง ในงานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้กับกระบวนการในการประเมินผู้ส่งมอบเพื่อวัดสมรรถนะด้านความยั่งยืน ของผู้ส่งมอบ ส่วนที่สองของวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเครื่องมือสำหรับวัดสมรรถนะด้านความยั่งยืน เครื่องมือนี้พัฒนา โดยใช้หลักการฟัซซี่เอเอชพี ซึ่งในงานนี้ได้เสนอวิธีการฟัซซี่เอเอชพี 3 วิธีการในการคำนวณน้ำหนัก ความสำคัญแบบคลุมเครือ (fuzzy priority weight)ได้แก่ วิธีที่ 1 การปรับปรุงจากวิธี Extent analysis วิธีที่ 2 การปรับปรุงจากวิธี Normalization และวิธีที่ 3 การปรับปรุงจากวิธี Weakest t-norm วิธีการที่ ได้นำเสนอทั้ง 3 วิธีนี้ เป็ นวิธีที่ง่ายต่อการนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงสำหรับ ภาคอุตสาหกรรม วิธีการที่ 1 นั้นมีความยุ่งยากน้อยกว่าวิธีที่ 2 และวิธีที่ 3 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม วิธีการที่ 1 นั้นให้ค่าความคลุมเครือของน้ำหนักความสำคัญมากที่สุด ดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับผู้ตัดสินใจว่า จะเลือกวิธีการใดไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของตน ผลที่ได้จากการประเมินนี้จะช่วย ให้ผู้ตัดสินใจกำหนดทิศทางในการพัฒนาสมรรถนะด้านความยั่งยืนของผู้ส่งมอบได้ ส่วนที่สามของงานวิจัยนี้เป็นการนำกรอบแนวคิดและเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมาประยุกต์ใช้กับบริษัท กรณีศึกษาในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย บริษัทนี้ต้องการที่จะประเมินสมรรถนะ ด้านความยั่งยืนของผู้ส่งมอบเพื่อที่จะทราบถึงสมรรถนะและกำหนดแนวทางในการพัฒนา รูปแบบ การประเมินประกอบไปด้วยตัวชี้วัด 10 ตัว และค่าความยั่งยืนที่ต้องวัด 25 ค่า ทั้งหมดถูกพัฒนาบน ความยั่งยืน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อมและด้านสังคม ผลจากกรณีศึกษานี้พบว่า น้ำหนักความสำคัญของสมรรถนะด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม คือ ร้อยละ 50.87 ร้อยละ 34.86 และ ร้อยละ 15.14 ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าสมรรถนะด้านเศรษฐศาสตร์ยังคงมี ความสำคัญสูงสุด และสมรรถนะด้านสังคมมีความสำคัญน้อยที่สุด บริษัทกรณีศึกษานี้มีผู้ส่งมอบ มากกว่า 200 ราย งานวิจัยนี้จึงพัฒนารูปแบบในการประเมินที่เหมาะสำหรับการประเมินจำนวนมาก อย่างไรก็ตามในงานวิจัยนี้ได้คัดเลือกผู้ส่งมอบ 5 รายมาใช้เป็นตัวอย่างในการประเมินและตรวจสอบ ความถูกต้องของตัวแบบ ผลจากประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาพบว่าวิธีฟัซซี่เอเอชพีที่เสนอนั้นสามารถ นำมาใช้ได้ง่ายในสถานการณ์จริงของภาคอุตสาหกรรม และมีความซับซ้อนน้อยกว่าวิธี Lambda-Max ที่เป็นที่นิยมใช้กันen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
520651036 สาลินี สันติธีรากุล.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.