Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72128
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Amarin Boontun | - |
dc.contributor.advisor | Schradh Saenton | - |
dc.contributor.author | Seksan Jaivanglok | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-05-12T02:54:32Z | - |
dc.date.available | 2021-05-12T02:54:32Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72128 | - |
dc.description.abstract | In an open pit mining, one of the most important problems is the influx of groundwater into the mine. Developing mine below groundwater level is challenging. Poorly controled groundwater dewatering will have negative impacts on the safety, efficiency and economics of mining operations. Knowing the amount and flow direction of groundwater flow into the pit in advance will help reduce the amount of water by proper pumping. From the final pit design based on 2015 design, the maximum approaches are applied for the prediction of the groundwater inflow into the pit when the pit bottom reaches to -90 m level. The simulation of pit dewatering prediction used lake package to simulate pit area of similar lake to store water and simulate the pumping. A groundwater inflow rate is 147.9-231.5 m3/min for maximum rainfall. The dewatering system can install only one set but on wet season the pumping will continue to pump with maximum capacity about 400 hrs. It means that for average rain fall without dewatering, the pump will be operated 1-2 days that the water level will reach to elevation -90 m at the bottom of the pit. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Dewatering Management | en_US |
dc.subject | Groundwater | en_US |
dc.subject | Open Pit Mine Area | en_US |
dc.title | Groundwater Flow Simulation in an Open Pit Mine Area for Dewatering Management | en_US |
dc.title.alternative | การจำลองการไหลของน้ำบาดาลในพื้นที่เหมืองเปิดเพื่อการจัดการระบายน้ำ | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Mining engineering | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Groundwater | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Water table | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในการทำเหมืองแบบเปิด หนึ่งในปัญหาที่สำคัญที่สุดคือการไหลของน้ำใต้ดินเข้าไปในเหมือง การพัฒนาเหมืองที่ระดับเหมืองต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดินเป็นเรื่องที่ท้าทาย การออกแบบวางแผนควบคุมน้ำใต้ดินที่ไม่ดีจะมีผลกระทบด้านความปลอดภัยประสิทธิภาพและเศรษฐศาสตร์ ของการทำเหมือง การทราบปริมาณและทิศทางการไหลของน้ำใต้ดินที่ไหลเข้าสู่บ่อเหมืองล่วงหน้า จะช่วยลดปริมาณน้ำโดยการสูบน้ำอย่างเหมาะสม จากแบบรูปของเหมืองระยะสุดท้าย ซึ่งเป็นแบบรูปที่ออกแบบในปี 2558 โดยงานวิจัยนี้เป็นการจำลองการไหลของน้ำใต้ดินรอบๆ บ่อเหมืองเปิดในเหมืองทองคำชาตรี เมื่อบ่อเหมืองถึงระดับต่ำสุดที่ ลบ 90 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยการจำลองเสมือนให้บ่อเมือง มีลักษณะคล้ายทะเลสาบ ในการกักเก็บน้ำการไหลของน้ำรวมถึงการสูบน้ำออกการจำลองสามารถทำนายปริมาณและทิศทางของการไหลของน้ำใต้ดินลงในเหมืองโดยปริมาณเฉลี่ยที่ปริมาณ 147.9 ถีง 213.5 ลูกบาศก์เมตร ต่อนาที ในช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนสูงสุด ระบบสูบน้ำสามารถใช้เครื่องสูบน้ำที่มีประสิทธิภาพ เพียงชุดเดียว โดยปริมาณการสูบในช่วงน้ำฝนสูงสุดใช้เวลาในการสูบประมาณ 400 ชั่วโมง ในกรณีถ้าปริมาณน้ำฝนสูงสุด โดยไม่ทำการสูบน้ำใช้เวลาเพียง 1 ถึง 2 วัน ระดับน้ำก็จะท่วมระดับต่ำสุดที่ ลบ 90 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580635913 เสกสรร ใจวังโลก.pdf | 6.23 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.