Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPanlop Huttagosol-
dc.contributor.authorThanyalak Intaen_US
dc.date.accessioned2020-12-04T02:13:28Z-
dc.date.available2020-12-04T02:13:28Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71087-
dc.description.abstractAccording to the development of mathematical model by adopting CALPUFF software for simulation of climate and TSP and PM10 dust dispersion in mining and waste dump areas at Mae Moh mine, this study comprises of four main sections: (1) simulation of the climate model, (2) evaluation of the emission sources from the mining activities by using US.EPA AP-42 formulas, (3) investigation of the dispersion in 2016, and (4) comparison between the model data and air quality measured at the monitoring stations within the pit in each season by adopting a statistical technique to conduct a reliability test before using the model in 2022 and 2029. In comparison to the data observed from the meteorological stations, the results from the model reveal that the correlation coefficients of three seasons are 90 % indicating that the climate model is reliable. To evaluate the sources of TSP and PM10, the mining activities are used to calculate the emission factors in 2016 and the results indicate that excavation and haulage are the most dust-releasing activities. By comparison with the dust measured in the areas, the correlation coefficients (R2) of all seasons fluctuate between 0.140 – 0.870 indicating that the dispersion simulation is at moderate. Based on the model developed for the year 2016, it can be applied to predict the dust dispersion in 2022 and 2029. The input data consist of production plans, climate changes in accordance with depth of the mining pit, and emission rates from the main dust-releasing activities. It is found that the dust disperses along the local wind. Moreover, the dust concentration at night is higher than the daytime due to the decrease of the mixing height level, affecting the night shift workers than the daytime shift workers. The deepest location of the pit shows the highest dust concentration. Consequently, workers in this area should wear dust protective equipment, or avoid being in this risky area for a long period.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFugitiveen_US
dc.subjectDusten_US
dc.subjectMae Moh Open Pit Coal Mineen_US
dc.titleFugitive dust dispersion modeling in Mae Moh Open Pit Coal Mine, Lampang Provinceen_US
dc.title.alternativeการสร้างแบบจำลองการกระจายตัวฝุ่นละอองในบ่อเหมืองถ่านหิน แม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจากการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม CALPUFF จำลองสภาพอากาศและการแพร่กระจายของฝุ่น TSP และ PM10 ครอบคลุมพื้นที่ทำเหมืองและที่ทิ้งดินของเหมืองแม่เมาะ การศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็ น 4 ส่วนหลัก ได้แก่ สร้างแบบจำลองสภาพอากาศ ประเมินแหล่งกำเนิดฝุ่นจากกิจกรรมการทำเหมือง โดยสมการ U.S.EPA AP-42 สร้างแบบจำลองการแพร่กระจายฝุ่นละออง ในปี พ.ศ. 2559 นำข้อมูล มาเปรียบเทียบคุณภาพอากาศที่ตรวจวัดจากสถานีอุตุนิยมวิทยา และ ข้อมูลการแพร่กระจายฝุ่นจากจุดตรวจวัดในบ่อเหมืองที่เกิดขึ้นในแต่ละฤดู โดยใช้วีธีทางสถิติในการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของแบบจำลองสำหรับใช้พยากรณ์คุณภาพอากาศในอนาคต ปี พ.ศ 2565 และ 2572 ผลจากการสร้างแบบจำลองสภาพอากาศเปรียบเทียบกับข้อมูลตรวจวัดสถานีพบว่า ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ทั้ง 3 ฤดู อยู่ที่ 90% ซึ่งแสดงถึงความน่าเชื่อถือในการสร้างแบบจำลองอากาศ จากการประเมินแหล่งกำเนิดฝุ่น TSP และ PM10 จากกิจกรรมที่ก่อให้เกิดแหล่งกำเนิดฝุ่น (Emission Factor) ปี พ.ศ. 2559 พบว่าแหล่งกำเนิดฝุ่น TSP and PM10 สูงสุด ได้แก่ กิจกรรมการขุด-ขน ดินและถ่าน เมื่อนำค่าที่ได้จากการสร้างแบบจำลองแพร่กระจายฝุ่นเปรียบเทียบกับค่าตรวจวัดฝุ่นในพื้นที่ มีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ทั้ง 3 ฤดู ค่อนข้างแปรปรวน อยู่ในช่วง 0.140 - 0.870 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการจำลองการแพร่กระจายอยู่ในระดับพอใช้ จากแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นมานำมาสร้างการแพร่กระจายในอนาคต โดยการใช้ข้อมูลแผนการทำงานในอนาคต (พ.ศ. 2565 และ พ.ศ. 2572) จะขึ้นอยู่กับความเปลี่ยนแปลงตามลักษณะภูมิประเทศและตามแผนการทำเหมือง โดยประเมินสภาพอากาศตามระดับความลึกของบ่อเหมือง ซึ่งกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นสูงสุดเป็นกิจกรรมการขุด-ขนดินและถ่านเช่นเดิม และการแพร่กระจายฝุ่นนั้นจะพัดพาไปตามทิศทางลมประจำฤดู ซึ่งค่าความเข้มข้นที่เกิดขึ้นพบว่า ช่วงกลางคืนค่าความเข้นข้นของฝุ่นจะสูงกว่ากลางวัน มีผลมาจากระดับความสูงผสมที่ลดต่ำลงในช่วงกลางคืน ทำให้คนทำงานกะกลางคืนจะได้รับผลกระทบจากฝุ่นมากกว่าคนทำงานกะกลางวัน และจุดที่ลึกที่สุดของบ่อ เป็ นจุดที่มีความเข้มข้นฝุ่นสูง คนทำงานในพื้นที่นั้นจำเป็นต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันฝุ่นหรือหลี่กเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่ เสี่ยงเป็นเวลานานen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580635909 ธัญญลักษณ์ อินตา.pdf17.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.