Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71077
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Charin Mangkhang | - |
dc.contributor.advisor | Thongchai Puwanatwichit | - |
dc.contributor.advisor | Bupa Anansuchatkul | - |
dc.contributor.author | Chayanid Yimsawat | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-11-30T06:13:01Z | - |
dc.date.available | 2020-11-30T06:13:01Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71077 | - |
dc.description.abstract | The thesis titled The Instructional Model to Strengthen Comprehensive Humanization for Higher Education Students is a Mixed Method Research based on quantitative and qualitative research that get Research and Development (R&D) and Participatory Action Research (PAR) together. The objectives of the research as follow: 1) to analyze the characteristics of Comprehensive Humanization for higher education students, 2) to create the instructional model to strengthen Comprehensive Humanization for higher education students, and 3) to study the results of applying the instructional model to strengthen Comprehensive Humanization for higher education students. Population used to collect data was the students who had enrolled in 071416 Man and Environment and Sustainable Development in Second Semester of Academic Year 2018, total of 32 students as the target group. The instruments used in research were the guidebook of the Instructional Model to Strengthen Comprehensive Humanization, the assessment form of Comprehensive Humanization characteristic from rating scale, situational test, satisfaction evaluation, opinion survey and focus group discussion. Data were analyzed by content analysis, mean (xˉ) and Standard Deviation (SD), Item-Objective Congruence Index (IOC), t-test and Cronbach’s coefficient. The results revealed that 1) The Comprehensive Humanization characteristic for higher education students has 3 aspects which are 1) the Comprehensive Humanization characteristic in Behavioral side, the students should know the rights and duties of oneself and others, understand oneself and others, understand the differences in the society and conserve the environment. Moreover, the students should not use violence to solve problems, 2) the Comprehensive Humanization characteristic in Emotional side, the students should have positive attitude towards others, have public mind and know what is right or wrong. Besides, the students should have good moral and ethics, and 3) the Comprehensive Humanization characteristic in Cognitive side, the students should have reasonable critical thinking and connecting skill, consume the information wisely and apply the knowledge properly, as well as express and pass on knowledge to others. After using CELER Model, it found that the students have acquired Soft skills that is increased skill from the above characteristics. 2) The Instructional Model to Strengthen Comprehensive Humanization for Higher Education Students (CELER Model) includes 5 steps as follow: 1) Creation of atmosphere: C, 2) Experience review: E, 3) Learning for living: L, 4) Empowerment: E, and 5) Reflection: R. 3) The result of using CELER Model found that the Comprehensive Humanization characteristic in Emotional side in terms of having positive attitudes to others after the participation in activity (M = 4.31, SD = .37) was higher than before the participation in activity (M = 3.96, SD = .40) with statistical significance at .05. Most of students satisfied the course outline used CELER Model at high and the highest level in each course outline, and they satisfied the fourth course outline at the highest level in each step. When classified by step, it found that 84.38 percent of students satisfied Step L: Learning for living at the highest level (xˉ 4.84, SD 0.36) which was higher than other steps. The results from opinion survey and focus group discussion of students also found that CELER Model can strengthen students to have positive attitude, understand oneself and others, work with others smoothly, have creativity, and able to solve problems in complicated situation; those characteristics are Soft skills that are important skills in the 21st century. As the Behavioral characteristic, students reflected that they had the change during the use of CELER Model. Furthermore, when they used CELER Model continuously in long term, it helped them able to change their behavior according to the instructional model to strengthen Comprehensive Humanization. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Instructional model | en_US |
dc.subject | Higher education students | en_US |
dc.subject | Students | en_US |
dc.title | Instructional model to strengthen comprehensive humanization for higher education students | en_US |
dc.title.alternative | รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นวิธีวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Method Research) เชิงปริมาณและคุณภาพที่ใช้วิธีดาเนินการวิจัยและพัฒนา (Research and Development- R&D) ร่วมกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research - PAR) เข้าด้วยกัน โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อวิเคราะห์คุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์สาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์สาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์สาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ประชากรที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกระบวนวิชามนุษย์และสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 32 คน ซึ่งผู้วิจัยเรียกว่ากลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์จากแบบวัดมาตรประมาณค่า แบบวัดสถานการณ์ แบบประเมิน ความพึงพอใจ แบบสอบถามความคิดเห็น และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ค่าเฉลี่ย (xˉ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าดัชนีความสอดคล้อง(IOC) ค่าสถิติ t-test และค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคแอลฟา (Cronbach’s coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 3 ด้าน ได้แก่ 1) คุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้านพฤติกรรม ควรรู้จักสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น เข้าใจตนเองและผู้อื่น รวมทั้งความแตกต่างหลากหลายในสังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไม่ควรใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา 2) คุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้านจิตใจ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อผู้อื่น มีจิตสาธารณะ และรู้จักผิดชอบชั่วดี ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม และ 3) คุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้านปัญญา ควรมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยงอย่างเป็นเหตุและผล มีวิจารญาณในการรับข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถถ่ายทอด แบ่งปันองค์ความรู้แก่ผู้อื่น โดยภายหลังการนารูปแบบ CELER Model ไปใช้ พบว่า นักศึกษาเกิดทักษะทางด้านอารมณ์และสังคม (Soft skills) เพิ่มจากคุณลักษณะดังกล่าว 2. รูปแบบการเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา (CELER Model) ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน1) ขั้นสร้างบรรยากาศทางสังคม (Creation of atmosphere: C) 2) ขั้นทบทวนประสบการณ์ (Experience review: E) 3) ขั้นเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning for living: L) 4) ขั้นสร้างพลังในตน (Empowerment: E) 5) ขั้นสะท้อนจินตนาการ (Reflection: R) 3. ผลการใช้ CELER Model พบว่า คุณลักษณะความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้านด้านจิตใจและอารมณ์ ในเรื่องทัศนคติที่ดีต่อผู้อื่น หลังการเข้าร่วมกิจกรรม (M = 4.31, SD = .37) สูงกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม (M = 3.96, SD = .40) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 โดยนักศึกษาส่วนใหญ่พึงพอใจแผนการจัดการเรียนรู้ CELER Model ในระดับดีมากและมาก ในทุกแผนการจัดการเรียนรู้โดยแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 นักศึกษาพึงพอใจในระดับมากที่สุดทุกขั้นตอน และเมื่อพิจารณารายขั้นตอนพบว่า ขั้นเรียนรู้เพื่อชีวิต (L) นักศึกษาจานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ84.38 พึงพอใจในระดับมากที่สุด (xˉ 4.84, SD 0.36) สูงกว่าขั้นตอนอื่น ทั้งนี้ผลจากความคิดเห็นและการสนทนากลุ่มของนักศึกษา พบว่า CELER Model สามารถเสริมสร้างให้นักศึกษามีทัศนคติที่ดี เข้าใจตนเองและผู้อื่นมากขึ้น ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่ซับซ้อนได้ ซึ่งคุณลักษณะดังกล่าว คือ Soft skills ที่เป็นทักษะสาคัญในศตวรรษที่ 21 ขณะที่คุณลักษณะด้านพฤติกรรม นักศึกษาสะท้อนว่า เกิดการเปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลาที่ใช้ CELER Model และเมื่อได้รับการใช้ CELER Model อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน จะช่วยให้นักศึกษาสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เป็นไปตามแนวทางการเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
570252021 ชญานิตย์ ยิ้มสวัสดิ์.pdf | 4.76 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.