Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุคันธา โอศิริพันธุ์-
dc.contributor.authorธนะพัฒน์ รตะศรีสมบูรณ์en_US
dc.date.accessioned2020-11-30T03:40:03Z-
dc.date.available2020-11-30T03:40:03Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71073-
dc.description.abstractThis research aimed to study the response surface optimization of enzymatic hydrolysis of rice using α-amylase for hypertonic drink preparation. The effects of enzyme concentration, temperature and time on rice hydrolysis efficiency (Dextrose equivalent, total sugar and production yield) were investigated. The results showed that the optimum enzyme concentration, temperature and time on rice hydrolysis by α-amylase were found as 62.92 unit, 35 °c and 138.31 mins respectively. The optimized dextrose equivalent total sugar and production yield at optimum condition were 5.97 %, 16.12 % and 71.96 %, respectively. In addition, the drinks were prepared into three types according to their carbohydrate content including hypotonic, isotonic and hypertonic drinks (sugar/carbohydrate content less than 3 g, 4-8 g and more than 8 g/ 100 ml, respectively) using for study blood glucose and blood lactate after exercising . The results in athlete found that after exercising for 90 mins, blood glucose was significantly increased in the athletes treated with hypertonic drinks as compared to the athletes treated with hypotonic drinks, isotonic drinks, control and placebo group. Blood lactate after exercising of all groups was significantly increased (p < 0.05) when compared to the blood lactate before exercising. Moreover, the results showed that blood lactate after exercising was different among other groups. Interestingly, athletes derived hypertonic had the low level of blood lactate after exercising and this level was significant different in comparison to other athletes derived.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเครื่องดื่มen_US
dc.subjectไฮเปอร์โทรนิคen_US
dc.subjectนักกีฬาen_US
dc.subjectน้ำตาลen_US
dc.subjectแลคเตทen_US
dc.titleการผลิตเครื่องดื่มชนิดไฮเปอร์โทรนิคจากข้าวและผลต่อปริมาณน้ำตาลและแลคเตทในเลือดของนักกีฬาen_US
dc.title.alternativeProduction of hypertonic drink from rice and its effects on blood glucose and blood lactate of athletesen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashเครื่องดื่ม-
thailis.controlvocab.thashเอนไซม์-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- การแปรรูป-
thailis.controlvocab.thashน้ำตาลในเลือด-
thailis.controlvocab.thashนักกีฬา -- โภชนาการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยของเอมไซม์แอลฟาอะไมเลส ในข้าวเพื่อใช้ในการเตรียมเครื่องดื่มชนิดไฮเปอร์โทนิค โดยศึกษาผลของความเข้มข้นของ เอนไซม์ อุณหภูมิ และระยะเวลาในการย่อยข้าวด้วยเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสต่อปริมาณ ค่าสมมูล เด็กซ์โทรส ปริมาณน้ําตาลทั้งหมด และ ปริมาณผลผลิต ผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมใน การย่อยข้าวได้แก่ ความเข้มข้นของเอมไซม์เท่ากับ 62.92 ยูนิต อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส และ ระยะเวลาในการย่อยที่ 138.31 นาที ณ สภาวะดังกล่าวทําให้ได้ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส 5.97 % ปริมาณ น้ําตาลทั้งหมด 16.12% และ ปริมาณผลผลิตที่ 71.96 % เป็นค่าตอบสนอง จากนั้นเครื่องดื่มจะถูกแยก เตรียมเป็นเครื่องดื่มตามปริมาณคาร์โบไฮเดรต 3 ชนิด ประกอบด้วยเครื่องดื่มชนิดไฮโปโทนิค ไอโซ โทนิค และ ไฮเปอร์โทนิค (มีปริมาณน้ําตาลน้อยกว่า 3, 4-5, และ มากกว่า 8 กรัม/ 100มิลลิลิตร ตามลําดับ) เพื่อศึกษาระดับน้ําตาล และปริมาณแลกเตตในเลือดของนักกีฬาทั้งในภาวะหลังจากการ ออกกําลังกาย จากผลการทดลองพบว่า ภายหลังจากการออกกําลังกายเป็นระยะเวลานาน 90 นาที นักกีฬากลุ่มที่ได้รับเครื่องดื่มที่มีคาร์โบไฮเดรตจากข้าวชนิด ไฮเปอร์โทรนิคให้ค่าระดับน้ําตาลใน เลือดสูงสุดโดยแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับเครื่องดื่ม ชนิดไฮโปโทนิค ไอโซโทนิค ตัวควบคุม และ สารหลอก ในขณะที่ระดับแลกเตตในเลือดของ อาสาสมัครทุกกลุ่มภายหลังจากการออกกําลังกายพบว่ามีค่าสูงขึ้นแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเทียบกับระดับแลกเตตในภาวะก่อนออกกําลังกาย นอกจากนี้ภายหลังจากการออก กําลังกายส่งผลให้ระดับแลกเตตในกระแสเลือดของแต่ละกลุ่มมีค่าแตกต่างกัน โดยพบว่ากลุ่ม นักกีฬาที่ได้รับเครื่องดื่มชนิดไฮเปอร์โทนิคมีระดับแลกเตอในกระแสเลือคน้อยกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่ม ที่ได้รับเครื่องดื่มอื่นen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.