Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.authorภานัดดา ญาศรีen_US
dc.date.accessioned2020-11-26T02:15:06Z-
dc.date.available2020-11-26T02:15:06Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71067-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to create and evaluate the learning management plans to develop science process skills and the scientific mind using POGIL, 2) to compare the science process skills of the students before and after using the POGIL and 3) to study the scientific mind of the students during the lessons and after finishing the lessons with using the POGIL. The samples of research was 33 of grade 7 students in the educational year of 2019 in Phiangluang1 Under The Royal Petronage of Hrh Princess Ubolratana Ragkanya Sirivadhana Parnavadi which chosen by cluster random sampling. Research tools included learning management plan evaluation form, scientific process skills test and the scientific mind observation form. Quantitative data were analyzed by average, percentage, standard deviation and t-test. Qualitative data were analyzed by content analysis, issue summary and descriptive explanation The research findings were summarized as follows: 1. Seven lesson plans were developed in total 21 hours. This were qualified as 4.65 points in average which was at a excellent level. 2. After using the POGIL, students have significantly improved science process skills higher than before the experiment at 0.01 level of significance. 3. After using the POGIL, students had the scientific mind by self-assessment and teacher assesses score at a very good level. The observation from the author showed the improvement of the scientific mind of the students in twelve lessons. However, it dropped from the thirteenth to the fifteenth lessons. It became better again after the sixteenth to the twenty-first lessons.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectจิตวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectกระบวนการเรียนรู้แบบโพกิลen_US
dc.titleการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิลen_US
dc.title.alternativeThe Development of science process skills and the scientific mnd of grade 7 students by using POGILen_US
dc.typeThesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิลในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ 2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล 3) ศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระหว่างและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 33 คน โรงเรียนเพียงหลวง 1 (บ้านท่าตอน) ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูลคือ แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกทางจิตวิทยาศาสตร์ และแบบสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกทางจิตวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าทีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา สรุปประเด็นและบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แผนการจัดเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีทั้งหมด 7 แผน รวม 21 ชั่วโมง มีคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้เฉลี่ยเท่ากับ 4.65 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด 2. หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล นักเรียนมีผลการประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกทางจิตวิทยาศาสตร์ โดยนักเรียนประเมินตนเอง และโดยครูผู้สอนประเมินอยู่ในระดับมาก และระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล โดยการสังเกตของครูผู้สอน สรุปได้ว่า ชั่วโมงที่ 1 ถึง ชั่วโมงที่ 12 นักเรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกทางวิทยาศาสตร์ในทางที่ดีขึ้น แต่ในชั่วโมงที่ 13 ถึง ชั่วโมงที่ 15 นักเรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกทางวิทยาศาสตร์ลดลง และดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในชั่วโมงที่ 16 ถึง ชั่วโมงที่ 21en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232027 ภานัดดา ญาศรี.pdf62.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.