Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPharkphum Rakruam-
dc.contributor.authorAphinya Fucharoenen_US
dc.date.accessioned2020-10-22T08:23:12Z-
dc.date.available2020-10-22T08:23:12Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71061-
dc.description.abstractThis study was aims to investigating the optimum condition to treat naphthalene by mixed culture of diesel degradation bacteria including Achromobacterinsolitus (D2), Candida spp (D5), and Xanthobactorpolyaromaticiyorans (D6). The experiment was operating in varied ratio of synthetic solution and diesel with surfactant at 0:100, 20:80, 40:60, 60:40, 80:20 and 100:0. The experiment was operated in aeration mode with DO concentration above 2 mg/L at room temperature. The obtained results showed that the mixed culture bacteria used in this study was high efficiency to remove COD from wastewater (96-100%). Thus, it can be indicated that the ratio of N:D did not affect the degradation of COD by mixed culture bacteria but affect the degradation time. The different of nutrient added was affected the biomass growth in reactor. The highest biomass yield was found in batch E with 20% of synthetic solution and 80% of diesel and surfactant. It can be indicated that this ratio was optimal for bacteria for growth up and used for the other experiment. The optimal initial concentration of naphthalene was investigated by varied the initial naphthalene concentration at 20, 40, 60, 80 and 100 mg/L. The concentration of naphthalene was detected by HPLC. The result showed that the different initial concentration of naphthalene was affected degradation time and biomass growth. The optimal initial concentration of naphthalene was 20 mg/L which can apply in membrane bioreactor to degrade naphthalene.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectBiodegradationen_US
dc.subjectPolycyclic Aromatic Hydrocarbonen_US
dc.subjectDieselen_US
dc.titleBiodegradation of Polycyclic Aromatic Hydrocarbon in Dieselen_US
dc.title.alternativeการย่อยสลายทางชีวภาพของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในน้ำมันดีเซลen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshPolycyclic aromatic hydrocarbons -- Biodegradation-
thailis.controlvocab.lcshDiesel fuels-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการกำจัดสารปนเปื้อนแนฟทาลีนในน้ำเสียโดยใช้แบคทีเรียกลุ่มที่มีความสามารถในการ ย่อยดีเซล เป็นการศึกษาที่แบ่งการทดลองออกเป็นสองขั้นตอนคือการศึกษาอัตราส่วนระหว่างสารละลายดีเซลกับน้ำเสียสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและการศึกษาหาประสิทธิภาพของแบคทีเรียในการกาจัดแนฟทาลีน การทดลองแรกได้นำกลุ่มกลุ่มจุลินทรีย์ที่มี ความจำเพาะต่อการบำบัดดีเซลในน้ำเสีย ได้แก่ Achromobacterinsolitus(D2), Candida spp(D5), และ Xanthobactorpolyaromaticiyorans (D6) โดยนำมาเพาะเลี้ยงในอัตราส่วนระหว่างสารละลายดีเซลต่อน้ำเสียสังเคราะห์ที่แตกต่างกันคือ 10:0 , 2:8, 4:6 , 6:4, 8:2, 0:10 ในสภาวะที่มีค่าออกซิเจนละลาย (DO) มากกว่าหรือเท่ากับ 2 มก/ล เพื่อรักษาสภาพการย่อยสลายแบบใช้ออกซิเจนและทำการทดลองในอุณหภูมิห้อง ผลการศึกษาพบว่าทุกสภาวะของการทดลองสามารถลดค่าซีโอดีได้ 96-100% โดยบ่งชี้ได้ว่าอัตราส่วนสารอาหารที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการย่อยสลาย อย่างไรก็ตามอัตราส่วนที่แตกต่างกันมีผลต่อระยะเวลาในการย่อยสลาย นอกจากนี้ยังพบว่าการทดลองที่มีอัตราส่วนของดีเซลต่อน้ำเสียสังเคราะห์เท่ากับ 80:20 ทำให้จุลินทรีย์เจริญเติบโตได้ดีที่สุด โดยการทดลองที่มีดีเซลหรือน้ำเสียสังเคราะห์เพียงอย่างเดียวทำให้จุลินทรีย์เจริญเติบโตน้อย ดังนั้นจึงใช้สภาวะในการทดลองนี้มาทดลองหาประสิทธิภาพในการย่อยแนฟทาลีนของกลุ่มจุลินทรีย์ โดยการทดลองได้ทำการแปรเปลี่ยนค่าความเข้มข้นของแนฟทาลีนเริ่มต้นเป็น 5 ความเข้มข้นคือ 20, 40, 60, 80 และ 100 มก/ล ทำการวัดความเข้มข้นของแนฟทาลีนทุกๆ 2 ชั่วโมงด้วยเครื่องมือ HPLC ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าปริมาณของแนฟาลีนเริ่มต้นมีผลต่อระยะเวลาที่ใช้ในการย่อยและมีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์แต่ไม่มีผลต่อประสิทธิภาพในการย่อย โดยจุลินทรีย์สามารถยอยแนฟทาลีนได้ 100% ในทุกสภาวะการทดลองและพบว่าปริมาณแนฟทาลีนเริ่มต้นที่ 20 มก/ล เป็นความเข้มข้นที่เหมาะสม ซึ่งสามารถนำผลการศึกษาที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพในการบำบัดแนฟทาลีนต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631104 อภิญญา ฟู่เจริญ.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.