Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPairach Piboonrungroj-
dc.contributor.advisorSongsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorChukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.authorChanamart Intapanen_US
dc.date.accessioned2020-10-22T03:24:39Z-
dc.date.available2020-10-22T03:24:39Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71048-
dc.description.abstractTourism remains important to the worldwide economy. For Thailand, the worth of Tourism Direct GDP (TDGDP) is 5.45% compared to the country's total GDP. Moreover, MICE or business event travel industry generated 10.7% of the sector's annual income, with the typical industry growth of 15‐20%. Therefore, to maintain the competitiveness of Thai tourism, studying and understanding Thai tourism behavior is vital. However, there are still only a few studies on business tourism and therefore the efficiency of Thai tourism. This study focused on business tourism and also the efficiency of tourism. This thesis consists of three articles. The primary article is an analysis of the impact of tourism demand on gross domestic product. The second article examines the long-term equilibrium of the connection between MICE to the Thai economy. The third article examines the efficiency of Thai tourism. Studying the impact of tourism demand on the economy is extremely important for policymakers in making policy decisions. The most important question of this study is whether or not tourism demand and gross domestic product are seasonal. Therefore, this study is to research the seasonal fluctuations of tourism demand on gross domestic product. Therefore, we select the model that has seasonal pattern into consideration. The chosen model was the Bayesian seasonal unit root test. The study found that time series data is non-stationary. From the study, we will conclude that policymakers should consider the seasonal as the variable in tourism strategy. Since the results of the study have shown that tourism demand, namely the amount of tourists, tourism revenues, and tourism expenditures are all variables that are the seasonal unit root for the long-term. The second article analyzes the long-term equilibrium of the connection between MICE to the Thai economy by using the ADF unit root test and ARDL approach to cointegration with the concepts of recent econometrics called the Bayesian approach. The study found that both MICE tourists and MICE revenues have a short-term and long-term relationship with Thailand's gross domestic product. This study shows that business tourist groups are attractive target groups. Governments and therefore the private sector should pay more attention to the present group of tourists to stimulate the country's economy. The final study examines the efficiency of the tourism sector in Thailand compared to Malaysia and Singapore by measuring the efficiency of the frontier approach. The chosen models are the bootstrap DEA and the Stochastic Frontier Analysis model. The results from the bootstrap DEA model showed that the best tourism performance score was Singapore, followed by Malaysia and Thailand respectively. The results from the Stochastic Frontier Analysis model found that the best tourism performance score was Malaysia, followed by Singapore and Thailand respectively. This study indicates that although Thailand has more tourists than Singapore and Malaysia, the Thai tourism sector remains not efficient. We will conclude that Thailand's tourism sector in comparison to other ASEAN countries, remains ready to increase efficiency.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectEconometric analysisen_US
dc.subjectEconometricen_US
dc.subjectTourismen_US
dc.titleEconometric analysis for tourism sector in ASEANen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติสาหรับภาคการท่องเที่ยวในอาเซียนen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshEconometrics-
thailis.controlvocab.lcshASEAN countries -- Description and travel-
thailis.controlvocab.lcshTravel-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการท่องเที่ยวยังคงมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจโลก สาหรับประเทศไทย มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมทางตรงทางการท่องเที่ยวคิดเป็นร้อยละ5.45 เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรวม นอกจากนี้อุตสาหกรรมไมซ์หรือการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจสร้างรายได้ต่อปี 10.7% ของภาคธุรกิจโดยมีการเติบโตของอุตสาหกรรมเฉลี่ย 15‐20% ดังนั้นเพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันในการท่องเที่ยวของไทย การศึกษาและทาความเข้าใจพฤติกรรมการท่องเที่ยวของไทยจึงเป็นสิ่งสาคัญ อย่างไรก็ตามการศึกษาการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจและการศึกษาถึงประสิทธิภาพด้านการท่องเที่ยวของไทยยังมีจานวนน้อย การศึกษาในครั้งนี้จึงเน้นการศึกษาภาคการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจและการศึกษาด้านประสิทธิภาพการท่องเที่ยวของไทย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงประกอบด้วย 3 บทความ บทความฉบับแรก คือ การวิเคราะห์ผลกระทบของอุปสงค์การท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ บทความที่สองศึกษาถึงจุดดุลยภาพระยะยาวของความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจหรือไมซ์ต่อเศรษฐกิจของไทย บทความฉบับที่สามศึกษาประสิทธิภาพการท่องเที่ยวของไทย การศึกษาถึงผลกระทบของอุปสงค์ด้านการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจมีความสาคัญอย่างมากสาหรับผู้สร้างนโยบายเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการออกนโยบาย คาถามหลักของการศึกษานี้ คือ อุปสงค์การท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมีรูปแบบที่เป็นฤดูกาลหรือไม่ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้เพื่อวิเคราะห์การขึ้นลงตามฤดูกาลของอุปสงค์การท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ แบบจาลองที่เราเลือกใช้คือการทดสอบความหยุดนิ่งยูนิตรูทตามฤดูกาลร่วมกับแนวคิดเบย์ ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลอนุกรมเวลาของอุปสงค์การท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเป็นตัวแปรที่เป็นตัวแปรไม่นิ่งตามฤดูกาลในระยะยาว จากผลการศึกษาทาให้เราสามารถสรุปได้ว่าเวลาจะทานโยบายทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวก็ควรจะคาถึงนึกเรื่องของฤดูกาลเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากผลการศึกษาแสดงให้เห็นแล้วว่าอุปสงค์ด้านการท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็นจานวนนักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยว ค่าใช้จ่ายที่นักท่องเที่ยวใช้จ่ายในการท่องเที่ยวนั้นล้วนแต่เป็นตัวแปรที่ไม่มีความนิ่งตามฤดูกาลในระยะยาว บทความที่สองทาการวิเคราะห์ถึงจุดดุลยภาพระยะยาวของความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจหรือไมซ์ต่อเศรษฐกิจของไทยโดยใช้แบบจาลองการทดสอบความหยุดนิ่งยูนิตรูท กับ แบบจาลองการทดสอบการร่วมกันไปด้วยกัน มาร่วมกับแนวคิดของเศรษฐมิติสมัยใหม่คือแนวคิดแบบเบย์ ผลการศึกษาพบว่า ทั้งจานวนนักท่องเที่ยวไมซ์และรายได้ของไมซ์มีความสัมพันธ์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของไทย การศึกษานี้จึงแสดงให้เห็นว่า กลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงธุรกิจเป็นกลุ่มเป้าหมายที่น่าสนใจควรจะให้ความสนใจกับนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มากยิ่งขึ้นเพื่อต้องการที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ การศึกษาสุดท้ายทาการศึกษาประสิทธิภาพภาคการท่องเที่ยวของไทยเทียบกับประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร์ โดยใช้การวัดประสิทธิภาพวิธีเส้นพรมแดน แบบจาลองที่เลือกใช้คือ ตัวแบบการวิเคราะห์โอบล้อมข้อมูลร่วมกับวิธีการบูตสแตรป กับ ตัวแบบการวิเคราะห์ขอบเขตผลผลิตเชิงสุ่มเปรียบเทียบกัน ผลการศึกษาจากแบบจาลองตัวแบบการวิเคราะห์โอบล้อมข้อมูลร่วมกับวิธีการบูตสแตรปพบว่าค่าคะแนนประสิทธิภาพภาคการท่องเที่ยวที่มากที่สุดได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ รองลงมาคือ ประเทศมาเลเซียและประเทศไทย ตามลาดับ ส่วนผลการศึกษาจากแบบจาลองตัวแบบการวิเคราะห์ขอบเขตผลผลิตเชิงสุ่มพบว่าค่าคะแนนประสิทธิภาพภาคการท่องเที่ยวที่มากที่สุดได้แก่ ประเทศมาเลเซีย รองลงมาคือประเทศสิงคโปร์และประเทศไทย ตามลาดับ การศึกษานี้จึงแสดงให้เห็นว่า ถึงแม้ประเทศไทยจะมีจานวนนักท่องเที่ยวมากกว่าประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซียแต่ภาคการท่องเที่ยวของไทยยังไม่มีประสิทธิภาพ ทาให้เราสามารถสรุปได้ว่า ภาคการท่องเที่ยวของไทยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นในอาเซียนยังสามารถที่จะเพิ่มประสิทธิภาพได้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591655902 ชนามาศ อินต๊ะปัน.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.