Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69786
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTipawan Thungmhungmee-
dc.contributor.advisorEmeritus Suraphon Damrrikul-
dc.contributor.advisorChalongdej Kupanumat-
dc.contributor.authorPiyachat Udomsrien_US
dc.date.accessioned2020-10-07T02:29:49Z-
dc.date.available2020-10-07T02:29:49Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69786-
dc.description.abstractHmong ethnic folk tales are considered a cultural heritage that can learn the Hmong’s worldview. Hmong folk tales are born from imagination, attitude of the people in that society that inherit the teachings and beliefs. When there are changes of immigration of eating areas, outbreak, education and trading, causing the new generation Hmong people forget the cultural heritage. Reviewing the Hmong folk tales is like resurrecting the meaning of those memories to live a close connection the people of modern times for these new generation Hmong people to be proud of their knowledge and appreciate the value of cultural identity for future generations. The purpose of this study is to study the context of history, society and culture of the Hmong community, including concepts and wisdom in various fields as well as studying the Hmong folk tales in the Hmong community at Mae Sa Mai village and Mae Sa Noi village, Pong Yaeng subdistrict, Mae Rim district, Chiang Mai province. Perform synthetic analysis for the creation of mixed media arts with the participation of youth in the community. Inspired by imagination, stories or folk tales of the Hmong people to stimulate the awareness of the cultural identity of the Hmong people, with the Art Creative Research style, using Interdisciplinary research and presenting the results of the study in descriptive form and presenting the art creation work. The study found that the 9 folktales of the Hmong folktales of Mae Sa Mai and Mae Sa Noi villages, Pong Yaeng Subdistrict, Mae Rim District, Chiang Mai Province. Then selected Hmong folktales stories from the Hmong community youth to choose by using human principles as the centre. The group of relations between the Hmong folktales is divided into 3 groups as follows: The relationship between man and man, the relationship between man and nature, the relationship between man and supernature. Therefore select 3 Hmong folk tales (from 9 Hmong folk tales) To bring the process of visiting the art activity area with the Hmong youth Mae Sa Mai Village and Mae Sa Noi Village, Pong Yaeng Subdistrict, Mae Rim District, Chiang Mai Province. As a result of the activities, the researcher synthesized the lines of the Hmong youth together with the imagination of the researcher, turned out to be a mixed media art participation with Hmong youth by creating techniques from natural materials in Hmong lifestyle. Presented in the form of mixed media art exhibition Which installation art for the Hmong youth and those interested in art can participate in the creative work that is displayed at this time.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectHmong peopleen_US
dc.subjectFolk talesen_US
dc.subjectParticipatory Mixed Media Artsen_US
dc.subjectHmong communitiesen_US
dc.titleHmong ethnic folk tales : Imagination from stories towards mixed media art with participation from youngsters from Hmong communities in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้ง : จินตนาการจากเรื่องเล่าสู่งานศิลปะสื่อผสม อย่างมีส่วนร่วมกับเยาวชนชุมชนม้งในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้งถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่สามารถเรียนรู้โลกทัศน์จินตนาการความคิด ทัศนคติของชาวม้งที่สืบทอดคำสอน และความเชื่อ สืบต่อกันมาสู่รุ่นต่อรุ่น เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องการอพยพหาพื้นที่ทำกิน เรื่องการเกิดโรคระบาด เรื่องการศึกษาและเรื่องการค้าขาย ทำให้ชาวม้งคนรุ่นใหม่หลงลืมมรดกทางวัฒนธรรม การที่กลับไปทบทวนนิทานพื้นบ้านของชาวม้ง จึงเท่ากับการรื้อฟื้นความหมายของความทรงจำเหล่านั้นให้มีชีวิตเชื่อมโยงใกล้ชิดกับผู้คนในยุคปัจจุบัน เพื่อชาวม้งคนรุ่นใหม่เหล่านี้จะได้เกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญา และเล็งเห็นคุณค่าการสำนึกอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมนั้นไว้เพื่อคนรุ่นหลังต่อไป การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนชาวม้ง รวมทั้งแนวความคิดและภูมิปัญญาในด้านต่างๆตลอดจนศึกษานิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้ง ในชุมชนชาวม้งที่หมู่บ้านแม่สาใหม่และหมู่บ้านแม่สาน้อย ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ทำการวิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะสื่อผสมอย่างมีส่วนร่วมกับเยาวชนชุมชนม้ง โดยมีแรงบันดาลใจจากจินตนาการเรื่องเล่าหรือนิทานพื้นบ้านชาวม้ง เพื่อกระตุ้นสร้างสำนึกอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวม้ง มีลักษณะงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ศิลปะ ใช้วิธีการศึกษาในรูปแบบสหวิทยาการ นำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบพรรณนาและเสนอผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะผลการศึกษาพบว่า ผู้ศึกษาพบข้อมูลของนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้งของหมู่บ้านแม่สาใหม่และหมู่บ้านแม่สาน้อย ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 9 เรื่อง แล้วทำการเลือกสรรนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้งจากเยาวชนชุมชนม้งเป็นผู้เลือก โดยใช้หลักมนุษย์เป็นศูนย์กลาง นำมาจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้งได้ แบ่งได้ 3 ประการดังนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ จึงเลือกสรรนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้งได้ 3 เรื่อง (จากนิทานพื้นบ้านชาติพันธุ์ม้ง 9 เรื่อง) เพื่อนำมาสู่กระบวนการการลงพื้นที่ทำกิจกรรมศิลปะร่วมกับเยาวชนชุมชนม้ง หมู่บ้านแม่สาใหม่และหมู่บ้านแม่สาน้อย ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จากผลของกิจกรรมผู้ศึกษาทำการสังเคราะห์ลายเส้นของเยาวชนชุมชนม้งผนวกกับจินตนาการของผู้ศึกษา ออกมาเป็นผลงานศิลปะสื่อผสมอย่างมีส่วนร่วมกับเยาวชนชุมชนม้ง โดยสร้างสรรค์จากเทคนิควัสดุธรรมชาติที่อยู่ในวิถีชีวิตชุมชนม้ง นำเสนอในรูปแบบนิทรรศการศิลปะสื่อผสม ที่มีการจัดวางศิลปะให้เยาวชนชุมชนม้งและผู้สนใจในงานศิลปะ สามารถมีส่วนร่วมกับผลงานสร้างสรรค์ที่จัดแสดงขึ้นในครั้งนี้en_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580352006 ปิยฉัตร อุดมศรี.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.