Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWasan Panyagaew-
dc.contributor.advisorChayan Vaddhanaphuti-
dc.contributor.authorBisma Putra Sampurnaen_US
dc.date.accessioned2020-10-07T02:16:18Z-
dc.date.available2020-10-07T02:16:18Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69784-
dc.description.abstractFootball has become one of the most popular sports in Thailand. Yet, football in Thailand should not only be treated as a sport. Since 2009, Thailand professional football league no longer serves merely as a sporting competition. It serves as a space in which the power relations among actors takes place. The complex interplay of power relations among the provincial power has intensified the process of identity construction in the provincial area. The unique capability of football to institutionalize particular form of identity allows us to comprehend how the club and the fans construct their identity. Special attention is given to Chiang Rai United Football Club and its fans who located in Chiang Rai Province and Bangkok. The proposed arguments are that the construction of provincial identity is mediated by football club and provincial power; that professional football club and provincial power provides a space for the fans to exercising their identity politics; and the process of identity construction is being conducted by the football club and the fans.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectChiang Rai United Football Cluben_US
dc.titleChiang Rai United Football Club: provincial identity in the makingen_US
dc.title.alternativeสโมสรฟุตบอลเชียงรายยูไนเต็ด : อัตลักษณ์ต่างจังหวัดในกระบวนการก่อร่างสร้างตนen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractฟุตบอลคือกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในประเทศไทย กระนั้นการพิจารณาเรื่องของฟุตบอลในประเทศไทยก็ไม่ควรจำกัดอยู่แต่เพียงในแวดวงกีฬา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา รายการแข่งขันฟุตบอลอาชีพของประเทศไทยได้ทำให้พื้นที่ของฟุตบอล ไม่ได้มีความหมายแค่เพียงการแข่งขันกีฬาอีกต่อไป รายการแข่งขันฟุตบอลอาชีพ (คือไทยลีค) ได้กลายเป็นสนามของความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้กระทำต่างกลุ่มที่เข้ามาร่วมวง การปะทะประสานอันซับซ้อนของความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ระหว่างกลุ่มอำนาจการเมืองต่างจังหวัด ผ่าน “สนามฟุตบอล” ที่ได้เร่งเร้ากระบวนการของการประกอบสร้างอัตลักษณ์ในยุคจังหวัดนิยม ศักยภาพที่โดดเด่นของฟุตบอลในการสร้างความเป็นสถาบันให้กับแบบฉบับของอัตลักษณ์ ได้เปิดโอกาสให้สำรวจตรวจตรากระบวนการที่สโมสรฟุตบอลและกลุ่มแฟนบอล ร่วมกันประกอบสร้างอัตลักษณ์ต่างจังหวัดของพวกเขาขึ้นมา งานวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษากระบวนการดังกล่าวผ่านกิจกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างสโมสรฟุตบอลเชียงรายยูไนเต็ด และกลุ่มแฟนบอล ซึ่งมีทั้งที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงรายและกรุงเทพมหานคร ข้อเสนอสำคัญของงานวิทยานิพนธ์นี้คือ การสร้างอัตลักษณ์ต่างจังหวัดนั้นคือกระบวนการระดับปฏิบัติการที่สร้างขึ้นโดยสโมสรฟุตบอลและอำนาจต่างจังหวัด กล่าวคือสโมสรฟุตบอลอาชีพ และกลุ่มการเมืองหรืออำนาจต่างจังหวัด (คือกลุ่มธุรกิจการเมืองท้องถิ่นที่เป็นเจ้าของทีมสโมสรฟุตบอลเชียงรายยูไนเต็ด) ได้เปิดพื้นที่ให้บรรดาแฟนบอลได้แสดง การเมืองอัตลักษณ์ (ผ่านกิจกรรม การรวมกลุ่มต่างๆ และจนไปถึงการระบายอารมณ์ ส่งเสียงเชียร์ในสนามฟุตบอล) ดังนั้นกระบวนการประกอบสร้างอัตลักษณ์ความเป็นเชียงราย (ในฐานะลักษณ์จังหวัด) จึงเป็น “กระบวนการก่อร่างสร้างตน” ระหว่างสโมสรฟุตบอลและกลุ่มแฟนบอลen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580435802 BISMA PUTRA SAMPURNA.pdf5.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.