Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69783
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Amporn Jirattikorn | - |
dc.contributor.advisor | Ta-Wei Chu | - |
dc.contributor.author | Sovann Mam | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-10-07T02:13:21Z | - |
dc.date.available | 2020-10-07T02:13:21Z | - |
dc.date.issued | 2020-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69783 | - |
dc.description.abstract | This thesis examines the processes of reconciliation that have taken place in post-genocide Cambodia. In doing so, the thesis follows a case study of Anlong Veng, the last stronghold of the Khmer Rouge (KR), to examine how and to what extent the strategy of the Cambodian government of the 1990s has achieved reconciliation, and how reconciliation process between victims and former Khmer Rouge cadres can be further advanced. While the country is not currently at war and the Extraordinary Chambers in the Courts of Cambodia (ECCC) has prosecuted senior leaders and those most responsible for crimes committed during the Khmer Rouge years, thousands of former Khmer Rouge cadres live among the general population in the midst of victims of the regime. This thesis examines the contributions of the ECCC and of Cambodian non-governmental organizations (NGOs) to the reconciliation process. It also analyzes local perceptions of reconciliation. It argues that although the government and stakeholders have achieved important progress, reconciliation efforts at personal and community levels remain incomplete. This thesis shows that even as the KR Tribunal is delivering retributive justice, many victims still want to hear the acknowledgments and confessions of those who committed crimes during the Khmer Rouge regime. The analysis is based on a literature review and qualitative research interviews conducted in 2016 and 2019. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Anlong Veng Community | en_US |
dc.title | Practices of reconciliation in the Anlong Veng Community, Cambodia | en_US |
dc.title.alternative | ปฏิบัติการปรองดองในชุมชนอันลองเวง ประเทศกัมพูชา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษากระบวนการปรองดองที่เกิดขึ้นในยุคหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในประเทศกัมพูชา โดยใช้กรณีศึกษาของชุมชนอันลองเวง ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสุดท้ายของกลุ่มเขมรแดง เพื่อศึกษาว่ารัฐบาลกัมพูชาในช่วงปีทศวรรษ 1990s ได้ใช้กลยุทธ์ใดและสามารถบรรลุจุดประสงค์ของการปรองดองได้ในระ ดับใด อีกทั้งยังต้องการศึกษาว่ากระบวนการปรองดองระหว่างเหยื่อและอดีตกลุ่มกองกำลังเขมรแดงจะสามารถคืบหน้าหรือมีความก้าวหน้าได้ด้วยวิธีใดแม้ในปัจจุบัน ประเทศกัมพูชาไม่ได้อยู่ในภาวะสงคราม Extraordinary Chambers in the Courts of Cambodia (ECCC) ได้มีคำสั่งให้นำตัวผู้นำอาวุโสและผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบมาขึ้นศาลเพื่อพิจารณาคดีอาชญากรรมที่ก่อขึ้นในช่วงปกครองของเขมรแดง แต่ทั้งนี้ ยังปรากฏว่ามีอดีตกลุ่มกองกำลังเขมรแดงอีก จำนวนหลายพันคนที่ดำเนินชีวิตท่ามกลางประชาชนทั่วไปและยังดำเนินชีวิตร่วมกับเหยื่อแห่งเหตุการณ์นั้น วิทยานิพนธ์นี้จึงได้ศึกษาผลจากการทำงานของ ECCC และการทำงานขององค์กรเอกชนในประเทศกัมพูชาที่มีต่อกระบวนการปรองดอง งานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์มุมมองของประชาชนท้องถิ่นที่มีต่อกระบวนการปรองดอง โดยพบว่า ถึงแม้ว่ารัฐบาลกัมพูชาและผู้มีส่วนได้เสียได้บรรลุความก้าวหน้าที่สำคัญ แต่ความพยายามในการปรองดองที่เกิดขึ้นในระดับบุคคลและชุมชนยังคงไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ งานวิจัยนี้พบว่า แม้ว่าศาลจะพิพากษาให้เกิดความยุติธรรมตามโทษานุโทษ แต่มีเหยื่ออีกจำนวนมากที่ยังต้องการได้ยินคำยอมรับและคำสารภาพจากผู้ที่ได้ก่ออาชญากรรมในช่วงเขมรแดง โดยทั้งนี้ได้อ้างอิงจากการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณ์งานวิจัยเชิงคุณภาพที่ดำเนินในปีค.ศ. 2016 และ 2019 | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580435808 SOVANN MAM.pdf | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.