Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ศิริผล-
dc.contributor.advisorเก่งกิจ กิติเรียงลาภ-
dc.contributor.authorรัฐาติ นันทแกล้วen_US
dc.date.accessioned2020-10-07T02:09:57Z-
dc.date.available2020-10-07T02:09:57Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69782-
dc.description.abstractThe study interest in an adaptation of labor groups under serious production process in Chinese banana plantation along Thai-Lao border in Phaya Mengrai District Chiang Rai Province by study adaptation strategies for livelihood of labor groups in context of Chinese influence in agroindustry affect their living. The objectives of this study are 1) to study adaptation strategies for livelihood of labor groups in Chinese banana plantation along Thai-Lao border in context of agriculture industry economic development under China's influence 2) To determine relation in social and cultural of labor groups that use as adaptation strategies for labor’s livelihood. This study utilized a qualitative research, data were obtained by field research in Chinese banana plantation area, observation, and interview labor groups. According to the results of the study, it was shown that there are 3 kinds of strategy. Firstly, labors create several ways of living by choosing several options or activities integrated for achievement. Secondly, they adapt the cost of living as resource and capital management strategy. Thirdly, adaptation of social tools. This strategy is applied as buffer in precarious situation. The condition in using these strategies is a variety kind of capital that labor belong or reachable. Furthermore, the study also find that series of social relation can be important tools to support an adaptation of labor groups when facing risk in living. Labor groups have enormous social network in numerous cluster this include cousins, friends, colleague, chief which flexibly adapt to lower their risk. Study also found that result of adaptation for livelihood of labors can be classify into 3 groups. Firstly, the success group, labor with skill and experience beside labor’s network in banana plantation develop them to into professional worker. Secondly, labor groups that adapt by variety of capital. Finally, unadaptable group who suffer from arduous situation since they lack of capital and social network to create any option, mostly are non-local or alien laborsen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแรงงานen_US
dc.subjectสวนกล้วยen_US
dc.subjectชายแดนไทย-ลาวen_US
dc.subjectการปรับตัวen_US
dc.subjectการดำรงชีพen_US
dc.subjectกลยุทธ์en_US
dc.titleกลยุทธ์การปรับตัวเพื่อการดำรงชีพของกลุ่มแรงงานใน "สวนกล้วยจีน" บริเวณชายแดนไทย-ลาวen_US
dc.title.alternativeAdaptation strategies for livelihood of labor groups in “Chinese banana plantation” along Thai-Lao borderen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ให้ความสนใจประเด็นการปรับตัวของกลุ่มแรงงานภายใต้กระบวนการผลิตที่เข้มข้นของสวนกล้วยจีนบริเวณพื้นที่อำเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย โดยศึกษารูปแบบกลยุทธ์การปรับตัวในการดารงชีพ (Adaptation Strategies for Livelihood) ของแรงงานกลุ่มต่าง ๆ ที่ยึดโยงกับเงื่อนไข (condition) ทางสังคมวัฒนธรรมในบริบทที่อิทธิพลจีนรุกคืบเข้าสู่ภาคเกษตร (agroindustry)ชายแดนไทย งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลยุทธ์การปรับตัวในการดำรงชีพของแรงงานกลุ่มต่าง ๆ ในสวนกล้วยจีนบริเวณชายแดนไทย-ลาวในบริบทการพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรชายแดนภายใต้อิทธิพลจีน และ 2) เพื่ออธิบายระบบความสัมพันธ์ในมิติทางสังคมวัฒนธรรมของแรงงานกลุ่มต่างๆ ที่ใช้เป็นกลยุทธ์การปรับตัวในการดำรงชีพ งานวิจัยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลภาคสนามในพื้นที่สวนกล้วยจีน สังเกตการณ์และสัมภาษณ์กลุ่มแรงงาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักตลอดจนกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นศึกษาผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการใช้กลยุทธ์การปรับตัวในการดารงชีพของแรงงานสวนกล้วยมี สามรูปแบบ คือ หนึ่ง การสร้างความหลากหลายของการดารงชีพ เป็นการใช้ทางเลือกหรือชุดกิจกรรมที่หลากหลายผสมผสานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย สอง การปรับเปลี่ยนทุนในการดารงชีพเป็นกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรและทุนให้สามารถหนุนเสริมแทนกันได้ และ สาม การปรับใช้เครื่องมือทางสังคม เป็นกลยุทธ์ที่แรงงานใช้เพื่อเป็น “กันชน” (Buffer) รองรับชีวิตในยามเผชิญกับความเปราะบาง โดยเงื่อนไขในการเลือกใช้กลยุทธ์ของแรงงานเหล่านี้ คือ ทุน (capital) ประเภทต่าง ๆ ที่แต่ละกลุ่มมีหรือสามารถเข้าถึงได้ นอกจากนี้ งานศึกษายังพบว่า ชุดความสัมพันธ์ทางสังคมคือเครื่องมือสาคัญที่ช่วยสนับสนุนการปรับตัวของแรงงานในยามเผชิญหน้ากับความเสี่ยง (risk)ในการดำรงชีพ จะพบว่า กลุ่มแรงงานที่มีเครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคม (social network) กว้างขวาง ไม่ว่า กลุ่มเครือญาติ เพื่อน หัวหน้างาน มักปรับตัวได้อย่างยืดหยนุ่ และลดความเสี่ยงในการดำรงชีพได้งานศึกษานี้ยังพบผลลัพธ์ที่เกิดจากการปรับตัวในการดำรงชีพของแรงงาน ที่สามารถแบ่งได้สามกลุ่ม คือ หนึ่ง กลุ่มแรงงานประสบความสาเร็จในการดำรงชีพ โดยฉวยใช้ทักษะความรู้และฝีมือความชำนาญผนวกกับเครือข่ายความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นใหม่จากการทำงานในสวนกล้วย พัฒนาตัวเองไปสู่การเป็นแรงงานอาชีพ (professional worker) สอง กลุ่มแรงงานสามารถปรับตัวได้ โดยใช้กลยุทธ์และทุนที่มีความหลากหลายในการดารงชีพ สาม กลุ่มแรงงานที่ไม่สามารถปรับตัวได้ และต้องเผชิญความยากลาบากในการทางานในสวนกล้วย เพราะไม่สามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิต และมีเครือข่ายทางสังคมน้อยกว่า ทาให้แรงงานกลุ่มนี้มีทางเลือกน้อย ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็ นกลุ่มแรงงานต่างถิ่นและแรงงานข้ามชาติen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580431024 รัฐชาติ นันทแกล้ว.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.