Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69764
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Peerapol Jirapong | - |
dc.contributor.advisor | Suttichai Premrudeepreechacharn | - |
dc.contributor.advisor | Sermsak Uatrongjit | - |
dc.contributor.author | Panida Thararak | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-09-21T09:27:07Z | - |
dc.date.available | 2020-09-21T09:27:07Z | - |
dc.date.issued | 2020-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69764 | - |
dc.description.abstract | The flexible operation of microgrids, along with the availability of distributed energy resources, causes a variety of changes in short-circuit current levels, magnitudes, and directions that have undesirable effects on the operation of protection systems. Conventional protection schemes use typical directional overcurrent relays with limited operating capability, unable to respond to microgrid operations in the manner of shortcircuit current changes. In this research, a novel quaternary protection scheme implemented with dual-directional overcurrent relays (dual-DOCRs) is developed to protect the short-circuit faults in microgrids, taking into account the interconnection of distributed generation units. The optimal dual-DOCR setting and coordination are formulated as an optimization problem solved by an evolutionary programming approach to minimize the total relay operating times. A centralized protection control strategy based on the smart grid concept is proposed to increase the adaptability of the dual-DOCRs, which have multiple relay setting groups in accordance with system state changes. The simulation case studies are performed using two benchmark IEEE test systems and a practical distribution system. Test scenarios, including the operations of microgrids, DGs availabilities, and different fault events are analyzed. The comparative studies with conventional protection schemes show that the quaternary scheme achieves the efficient coordination between the primary and backup relays, and increases the response-ability of the protection system, resulting in the enhancement of selectivity, sensitivity, and speed of microgrid protection systems. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Microgrids | en_US |
dc.subject | Energy resources | en_US |
dc.subject | Smart protection | en_US |
dc.title | Smart protection scheme for microgrids with distributed energy resources | en_US |
dc.title.alternative | รูปแบบการป้องกันอัจฉริยะสำหรับไมโครกริดที่ทำงานร่วมกับแหล่งผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การทํางานที่ยืดหยุ่นของไมโครกริคร่วมกับแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบกระจายตัว เป็น สาเหตุทําให้ขนาดและทิศทางของกระแสลัดลงวงจรในระบบเปลี่ยนไป ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อ การทํางานของระบบป้องกัน รูปแบบการป้องกันแบบดั้งเดิมที่ใช้รีเลย์กระแสเกินแบบรู้หนึ่งทิศทางมี ข้อจํากัดโดยไม่สามารถตอบสนองการทํางานของไมโครกริคในลักษณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของ กระแสลัดวงจรดังกล่าวได้ งานวิจัยนี้จึงได้พัฒนารูปแบบการป้องกันใหม่แบบสี่สถานะที่ทํางาน ร่วมกับรีเลย์กระแสเกินแบบรู้สองทิศทาง เพื่อป้องกันความผิดพร่องที่เกิดขึ้นในระบบไมโครกริด วิธีการสร้างขั้นตอนการคํานวณเชิงวิวัฒนาการถูกนํามาใช้กําหนดการตั้งค่าและการประสานสัมพันธ์ ที่เหมาะสมที่สุดสําหรับรีเลย์ที่นําเสนอ เพื่อลดเวลาในการทํางานของรีเลย์ทั้งหมด นอกจากนี้ ได้ พัฒนาการควบคุมระบบป้องกันแบบรวมศูนย์ตามแนวคิดสมาร์ทกริดเพื่อเพิ่มความสามารถในปรับ การตั้งค่าของรีเลย์ป้องกันตามการเปลี่ยนแปลงสถานะของระบบ ระบบมาตรฐาน IEEE และระบบ จําหน่ายไฟฟ้าจริงถูกนํามาใช้เป็นระบบทดสอบ เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะการทํางานของรูปแบบ การป้องกันที่นําเสนอ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับรูปแบบการป้องกันแบบดั้งเดิม ซึ่งมีการพิจารณาการ เปลี่ยนแปลงการทํางานของไมโครกริด การเชื่อมต่อหน่วยผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบกระจายตัว และ การจําลองเหตุการณ์ผิดพร่องในระบบ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันแบบสี่สถานะ ร่วมกับการใช้รีเลย์กระแสเกินแบบรู้สองทิศทาง มีประสิทธิภาพในการทํางานและการประสาน สัมพันธ์ระหว่างรีเลย์หลักและสํารองได้อย่างถูกต้อง ซึ่งทําให้ระบบป้องกันสําหรับไมโครกริคมี ความสามารถในการแยกแยะ ความไวต่อการตอบสนอง และความรวดเร็วในการทํางานดีขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580651015 ปณิดา ธารารักษ์.pdf | 10.94 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.