Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69746
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.พัชรา ตันติประภา-
dc.contributor.authorภัทร์พล ศรีฟองจันทร์en_US
dc.date.accessioned2020-08-29T02:15:27Z-
dc.date.available2020-08-29T02:15:27Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69746-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to investigate factors affecting intention to use smart watches among Generation X runners in Mueang Chiang Mai District. This study focused on exploring the following factors: Performance Expectancy, Effort Expectancy, Social Influence, Perceived Risk and Trust. A sample was 300 Generation X runners born during 1965 - 1976 who have exercised by running or participated in running events wearing a smart watch in Mueang Chiang Mai District during the past 6 months. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. Data were then analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean and multiple regression analysis. The results of this study indicated that the majority of the respondents were male, aged between 44 – 55 years old, graduated with a bachelor’s degree. They were employees of private companies with an average income of 50,001-100,000 THB per month. The most common price of smart watch was between 10,001-15,000 THB. The respondents have always used a smart watch when exercising. The average duration of use was 1-2 years. The most common running frequency was 1-2 times per week. The most well-known brand was Garmin Watch. In addition to running, another activity was cycling. The main purpose of using a smart phone was heart rate analysis and collection of statistics and data in daily life. From the multiple regression analysis, factors positively significantly affecting intention to use smart watches among the respondents were Trust (β = 0.664, P = .000). From multiple regression analysis, the predictive equation indicated that Trust( 0.664) positively influenced the intention to use smart watches with R2 = 49.1. However, Performance Expectancy (β = .090, P =.072), Effort Expectancy (β = .006, P =.902), Social Influence (β = .022, P=.613), and Perceived Risk (β =-.013, P=.766) did not influence intention to use smart watches among Generation X runners in Mueang Chiang Mai District.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อนักวิ่งเจเนอเรชันเอ็กซ์ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อความตั้งใจใช้สมาร์ทวอทช์en_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Generation X Runners in Mueang Chiang Mai District Towards Intention to Use Smart Watchesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อนักวิ่งเจเนอเรชันเอ็กซ์ในอําเภอ เมืองเชียงใหม่ต่อความตั้งใจใช้สมาร์ทวอทช์ โดยปัจจัยที่ศึกษา ได้แก่ ปัจจัยคาดหวังในประสิทธิภาพ ปัจจัยคาดหวังในความสะดวก ปัจจัยอิทธิพลทางสังคม ปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยง และปัจจัยความ ไว้วางใจ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักวิ่งเจเนอเรชันเอ็กซ์ซึ่งเป็นผู้ที่เกิดปี พ.ศ. 2508 2519 ที่ออกกําลังกาย โดยการวิ่งด้วยตนเองหรือร่วมกิจกรรมงานวิ่งในอําเภอเมืองเชียงใหม่ - ที่เคยใช้สมาร์ทวอทช์ใน ช่วงเวลา 6 เดือนที่ผ่านมาจํานวน 300 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ค่าสถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ถดถอย แบบพหุคูณผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุระหว่าง 44 - 55 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,001-100,000 บาท มีสมาร์ทวอชท์รา คา 10,001-15,000 บาท โดยความถี่ในการใช้คือใช้ทุกครั้งเมื่อออกกําลังกาย ซึ่งมีการใช้สมาร์ทวอ ชท์มาแล้ว 1-2 ปี สําหรับการวิ่งนั้น ผู้ตอบแบบสอบถามจะทํากิจกรรมวิ่ง 1-2 ครั้ง / สัปดาห์ ยี่ห้อ สมาร์ทวอชท์ที่นักวิ่งเจเนอเรชันเอ็กซ์รู้จักมากที่สุดคือ Garmin การใช้สมาร์ทวอชท์ในกิจกรรมอื่น ๆ นอกเหนือจากการวิ่ง คือกิจกรรมปั่นจักรยาน โดยมีการใช้สมาร์ทวอชท์ในจุดประสงค์ คือ วิเคราะห์ อัตราการเต้นของหัวใจ และใช้ความสามารถด้านการเก็บสถิติข้อมูลในชีวิตประจําวันมากที่สุด จาก การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ พบว่าปัจจัยที่ส่งผลเชิงบวกอย่างมีนัยสําคัญต่อความตั้งใจใช้สมาร์ท วอทช์ คือ ปัจจัยความไว้วางใจ (β = 664, P = .000 ) โดยสมการที่ใช้พยากรณ์จากการวิเคราะห์การ วิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ คือ ความตั้งใจใช้สมาร์ทวอทช์ = 0.664 (ปัจจัยความไว้วางใจ) โดยมีค่า R2 = 49.1 ในขณะที่ปัจจัยความคาดหวังในประสิทธิภาพ (β = 090, P = .072) ปัจจัยความคาดหวังใน ความสะดวก (β = .006, P = 902) ปัจจัยอิทธิพลทางสังคม (β = 022, P = 613) และปัจจัยการรับรู้ ความเสี่ยง (β = -.013, P = 766) ไม่ส่งผลอย่างมีนัยสําคัญต่อความตั้งใจใช้สมาร์วอทช์นักวิ่งเจเนอเร ชันเอ็กซ์ในอําเภอเมืองเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532246 ภัทร์พล ศรีฟองจันทร์.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.