Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69692
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Suwicha Wannawichian | - |
dc.contributor.advisor | Dr. Utane Sawangwit | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Siramas Komonjinda | - |
dc.contributor.author | Narenrit Thananusak | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-20T01:05:06Z | - |
dc.date.available | 2020-08-20T01:05:06Z | - |
dc.date.issued | 2020-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69692 | - |
dc.description.abstract | การคํานวณอัตราการก่อกําเนิดอาวต่อปริมาตร โคมูฟวิ่ง (ρSFR) จากฟังก์ชันกําลังส่องสว่างของ กาแล็กซี่ย่านรังสียูวี (UVLF) มีบทบาทอย่างมีนัยสําคัญต่อความเข้าใจในวิวัฒนาการของกาแล็กซีและ การรีไอออไนซ์ของเอกภพ (เรคชิฟต์ ≳ 6) งานวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่ pSFR ที่มีเรคชิฟต์ ≳ 6 ซึ่งคํานวณจาก ฟังก์ชันกําลังส่องสว่างย่านรังสียูวีในกรอบเฉื่อยของของผู้สังเกต ซึ่งฟังก์ชันกําลังส่องสว่างนี้คํานวณ จากวัตถุตัวเลือกที่ใช้ข้อมูลการเผยแพร่ครั้งที่สี่ของ Ultra-deep Visible and Infrared Survey Telescope for Astronomy (UltraVISTA DR4) ในฟิลเตอร์ YJHKs และการเผยแพร่สาธารณะครั้งที่สองของ Hyper Suprime-Cam Subaru Strategic Program (HSC-SSP PDR2) ในฟิลเตอร์ rizy พื้นที่สังเกตการณ์ ของงานวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่ Ultra-deep/UltraVISTA ขนาด 0.62 deg2 ซึ่งอยู่ในพื้นที่ คอสมิก อีโวลู ชัน เซอร์เวย์ (Cosmic Evolution Survey, COSMOS) ที่มีจุดศูนย์กลางพิกัดท้องฟ้าด้วยค่าไรต์แอสเซน ชั้น ~ 10hoom 28.6s เอคลิเนชัน ~ +2°12’21.0” งานวิจัยนี้เลือกวัตถุจํานวน 152 วัตถุ ที่มีเรอชิฟต์ 7.10 ± 0.54 ด้วยเทคนิคไลมานน์เบรกกาแล็กซีที่ไม่สามารถตรวจพบในฟิลเตอร์ 2 และการเลือกจากสี รวมถึงการประมาณค่าโฟโตเมตริกเรคชิฟต์ ฟังก์ชันกําลังส่องสว่างรังสียูวีในกรอบเฉื่อยของผู้สังเกต ถูกแบ่งกลุ่มด้วยโชติมาตรสัมบูรณ์ M๋J ซึ่งคํานวนด้วยวิธี 1/VMax หลังจากนั้นฟังก์ชันของ Schechter ถูกนํามาใช้เพื่ออธิบายฟังก์ชันกําลังส่องสว่างนี้ ซึ่งได้ค่าพารามิเตอร์ของฟังก์ชัน Schechter ที่เหมาะ สมที่สุด (best-fit) คือ Φ* = -0.28+0.14-0.18 M* = -20.92+0.42-0.38 และ α = -1.94+0.41-048 ค่าพารามิเตอร์ เหล่านี้คํานวณได้ค่า (pSFR = 10-2.53+1.27-0.66Myr-1Mpc-3 ซึ่งสนับสนุนงานวิจัยก่อนหน้าที่ pSFR มี ค่าลคลงที่เรคชิตฟที่สูงขึ้นสําหรับเอกภพที่มีเรคชิฟต์ ≳ 3 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของ ชุดข้อมูลสําหรับวัตถุที่มีโชติมาตรสัมบูรณ์ MJ > -20 ทําให้ค่าความไม่แน่นอนของค่าพารามิเตอร์ ที่เหมาะสมที่สุด (best-fit) ในฟังก์ชัน Schechter มีค่าสูง ซึ่งทําให้เห็นว่าการสํารวจวัตถุที่มีเรคชิฟต์สูง จําเป็นต้องใช้เครื่องมือที่สมรรถภาพและความไวสูงมากกว่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Luminosity Function of High-Redshift z Object Candidates at the Epoch of Reionization (Redshift ≳ 6) in Cosmic Evolution Survey (COSMOS) Field | en_US |
dc.title.alternative | ฟังก์ชันกําลังส่องสว่างของวัตถุตัวเลือกที่มีเรคชิฟต์สูงในสมัยของการ รีไอออไนซ์ (เรคชิฟต์ ≳ 6) ในเขตข้อมูลคอสมิกอีโวลูชันเซอร์เวย์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | The evaluation of star formation rate per comoving volume (ρSFR) from the UV galaxy luminosity function (UV LF) plays a significant role in the understanding of the galaxy evolution and the cosmic reionization (z ≳ 6). This work focused on the ρSFR at ≳ 6 that was calculated by the rest-frame LF of this work. Where this LF were determined by the selected candidates from the forth data release of ultra-deep visible and infrared survey telescope for astronomy (Ultra VISTA DR4) in filter YJHKs and the second public data release of hyper Suprime-cam Subaru strategic program (HSCSSP PDR2) in filter rizy. The area of this work focuses on the ultra-deep area (0.62 deg2) of ultra VISTA in the cosmic evolution survey (COSMOS) field, centered at RA ~ 10hoom 28.6sDec ~ +2°12’21.0”. This work selected the 152 z = 7.10 ± 0.54 candidates, which were selected by the Lyman-break Galaxies (LBGs) on the z-drop-out, the color-color selection and the photometric redshift approximation (photo-z). The rest-frame UV LF was binned by absolute magnitude MJ of ultraVISTA and was evaluated by 1/Vmax method. After that, the Schechter function were used to paramerized, which provide bestfit of Φ* = -0.28+0.14-0.18 M* = -20.92+0.42-0.38 and α = -1.94+0.41-048The best-fit Schechter parameters are used to calculate that give ρSFR = 10-2.53+1.27-0.66Myr-1Mpc-3, which supports the previous works that the PSFR decreases at higher - for the ≳ 3 universe. However, due to the lacking of MJ > -20 candidates in the UV LF of this work, which effected the uncertainties of the Schechter parameters fitting. It can be indicated that the investigation on high-2 objects requires the more powerful and sensitive instruments. | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610531046 นเรนทร์ฤทธิ์ ธนานุศักดิ์.pdf | 19.99 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.