Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69691
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ศิวะ อัจฉริยวิริยะ | - |
dc.contributor.author | วรรณรัตน์ ฉั่วตระกูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-20T01:05:01Z | - |
dc.date.available | 2020-08-20T01:05:01Z | - |
dc.date.issued | 2020-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69691 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to design and construct a biomass dryer assisted with solar energy and to study the performance of the dryer. This dryer is designed for farmers, especially farmers in off-grid communities. The dryer consists of a drying chamber was 1.5x2x1.5 m3, a boiler set and solar cell panels. A compressed sponge is used as a drying product to test the distribution of air temperature and moisture uniformity inside the drying chamber. The initial moisture content was about 320%db. A compressed sponge was dried until the moisture content was less than 10%db. There are three different thermal energy modes, which are solar energy mode, biomass energy mode and biomass assisted with solar energy mode. From the experiments, it was found that using biomass assisted with solar energy mode has the best performance, due to the average temperature difference between the top tray and the bottom tray was less than 3oC and the average of temperature varies from 50oC to 61oC. The moisture content in all trays was uniform and dried at nearly the same time, and dried within 3.25 h. The average specific drying rate was 0.98 kgwater/kgdry product/h, the specific energy consumption was 60.73 MJ/kgwater and the overall thermal efficiency was 4.12%. Additionally, this dryer can reduce the contamination of products from combustion smoke and ash, and can be auxiliary heat sources during periods of insufficient solar radiation or nighttime. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานชีวมวลโดยมีพลังงานแสงอาทิตย์ช่วยสาหรับเกษตรกรในชุมชนที่ไฟฟ้าสาธารณะเข้าไม่ถึง | en_US |
dc.title.alternative | Development of a Biomass Energy Dryer Assisted with Solar Energy for Farmers in Off-Grid Communities | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องอบแห้งให้เกษตรกรในชุมชนที่ไม่มีไฟฟ้าสาธารณะและศึกษาสมรรถนะเครื่องอบแห้ง เครื่องอบแห้งประกอบไปด้วย ห้องอบแห้ง ขนาด 1.5x2x1.5 m3 ชุดหม้อต้มน้าร้อนพลังงานชีวมวล และแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ใช้ฟองน้าอัดเป็นวัสดุตัวอย่างในการอบแห้งเพื่อทดลองการกระจายอุณหภูมิลมร้อนและความสม่าเสมอของความชื้น โดยที่ความชื้นเริ่มต้นประมาณ 320%db อบแห้งจนเหลือความชื้นต่ากว่า 10%db โดยใช้พลังงานความร้อนที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบ ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล และพลังงานชีวมวลร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ จากการทดลองพบว่าการอบแห้งโดยใช้พลังงานชีวมวลร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์มีแนวทางการอบแห้งดีที่สุด เนื่องจากมีผลต่างของอุณหภูมิลมร้อนเฉลี่ยถาดบนและถาดล่างสุดน้อยกว่า 3oC อุณหภูมิเฉลี่ยในห้องอบแห้งอยู่ในช่วง 50-61 oC ส่งผลให้ความชื้นมีความสม่าเสมอและลดลงเท่า ๆ กันทุกถาด ใช้เวลาอบแห้ง 3.25 ชั่วโมง อัตราการอบแห้งจาเพาะเฉลี่ย 0.98 kgwater/kgdry product/h ความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะ 60.73 MJ/kgwater และประสิทธิภาพเชิงความร้อนของการอบแห้ง 4.12% เครื่องอบแห้งนี้ช่วยลดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์จากกลิ่น ควัน และเถ้า ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพที่ดีขึ้น และยังใช้เป็นแหล่งความร้อนเสริมในช่วงเวลาที่แสงแดดไม่เพียงพอหรือช่วงเวลากลางคืน | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610631050 วรรณรัตน์ ฉั่วตระกูล.pdf | 5.52 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.