Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69684
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Sakdiphon Thiansem | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Apinon Nuntiya | - |
dc.contributor.advisor | Dr. Cherdsak Saelee | - |
dc.contributor.author | Nophawan Dechboon | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-20T01:04:24Z | - |
dc.date.available | 2020-08-20T01:04:24Z | - |
dc.date.issued | 2019-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69684 | - |
dc.description.abstract | This research aims to investigate the effect of alumina and silica content on willemite crystallization in Na2O-K2O-Li2O-CaO-(ZnO)-Al2O3-SiO2 glaze system and the effect of Li2O doping into the willemite glaze on the willemite crystallization behavior. The willemite glaze is prepared by mixed the ingredients of glaze that calculated from the phase diagram of the SiO2-ZnO-Al2O3 system, the glazes fired at the different firing temperatures of about 1100-1300°C and the soaking times was about 2, 3, and 4 hours. The results found that the willemite crystal glaze can be provided from the glaze formula G1, G6, G11, G16, and G21 when glazing on the stoneware and porcelain clays with sintering at 1250°C, but when glazing the dolomite clay with only the glaze formula G1, the crystals present at 1200°C. Next, the different soaking times about 2, 3, and 4 hours are studied follow as the crystallization and crystal growth process that carries out following the glazes are fired at 1250°C, downward to 1100°C and soak at 1100°C for stoneware and porcelain clay, and fire at 1200°C and downward to 1000°C for the dolomite clay. Therefore, the effect of the alumina and silica addition in higher quantity has resulted in a decrease of willemite crystallization, because alumina is a refractory raw material that melted at high temperatures and it affects to reduce the flow ability of the glaze during the firing process. Moreover, the doping of Li2O into the willemite glaze is also studied. It found that the 3-5 wt.% Li2O doped is affected by greater flow ability and increasing the amount of crystal more than the basic glaze. It described that the Li2O could be reduced the melting temperature of the glaze, and increased the amount of willemite crystal cause the glaze's strength is increased. It concludes that the Li2O content affects to improve the flow ability with support of the willemite crystallization in the Na2O-K2O-Li2O-CaO-(ZnO)-Al2O3-SiO2 glaze system. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Effects of Lithium Oxide on Crystallization of Willemite in Ceramic Glazes | en_US |
dc.title.alternative | ผลของลิเทียมออกไซด์ต่อการตกผลึกของวิลเลไมต์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปริมาณอลูมินาและซิลิกาต่อการตกผลึกของ วิลเลไมต์ในระบบเคลือบ Na,O-K,O-Li,O-CaO-(ZnO)-AL,0,-SIO, และผลของการเติม Li,0ลงใน เคลือบวิลเลไมต์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการตกผลึก การเตรียมเคลือบวิลเลไมต์ โดยการผสมส่วนผสม ของเคลือบที่คํานวณจากเฟสไดอะแกรมของระบบ SiO,ZnO-Al0, ทําให้เคลือบเผาที่อุณหภูมิการ เผาแตกต่างกันประมาณ 1100-1300 C และศึกษาเวลาในการแช่ 2, 3 และ 4 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมี การเตรียมส่วนผสมของน้ําเคลือบและเคลือบลงบนเนื้อดินทั้งสามประเภท ได้แก่ โดโลไมต์ สโตนแวร์ และปอร์ซเลน ผลการศึกษาพบว่าเคลือบผลึกวิลเลไมต์สามารถเตรียมได้จากสูตรเคลือบ G1, G6, G1, G16 และ G21 เมื่อเคลือบบนดินสโตนแวร์และดินปอร์ซเลน และเผาที่ 1250 ° C แต่เมื่อ เคลือบบนดิน โดโลไมต์ กระบวนนี้เกิดการตกผลึกที่ 1200 c ในสูตรเคลือบที่ G1 จากนั้น กระบวนการตกผลึกและการเติบโตของผลึกที่เกิดขึ้นหลังจากการเผาเคลือบโดยการลดอุณหภูมิลง เหลือ 1000-1100 °C และแช่อุณหภูมิเหล่านี้ด้วยเวลาแช่ที่แตกต่างกัน ประมาณ 2, 3 และ 4 ชั่วโมง จากผลของเวลาแช่ในการตกผลึก ทําให้ขนาดผลึกใหญ่ขึ้นเมื่อเวลาแช่นานขึ้น ดังนั้นผลของการเติม อลูมินาและซิลิกาในปริมาณมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการตกผลึกวิลเลไมต์น้อยลง เนื่องจากเป็นวัตถุดิบที่ มีความทนไฟจึงหลอมที่อุณหภูมิสูง ทําให้ลดการไหลตัวของเคลือบหลังการเผา นอกจากนี้ยังได้ ทําการศึกษาการเติมของ Li50 ลงในเคลือบ วิลเลไมต์ พบว่าสารเจือ Li03-5 vt.% นั้นได้รับ ผลกระทบจากการไหลและการปรับปรุงปริมาณของผลึกมากกว่าการเคลือบแบบพื้นฐาน สามารถ อธิบายได้ว่า Li;0 สามารถลดอุณหภูมิหลอมละลายและเพิ่มปริมาณของผลึกวิลเลไมต์ ทําให้ความแข็งแกร่งของเคลือบเพิ่มขึ้น สรุปได้ว่าLi2Oมีผลต่อการปรับปรุงการไหลและค่าสัมประสิทธิ์การขยายตัวทางความร้อนสามารถสนับสนุนตกผลึกของวิลเลไมต์ในเคลือบได้ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
560551065 นพวรรณ เดชบุญ.pdf | 5.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.