Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ. ดร.อุดมโชค อาษาวิมลกิจ-
dc.contributor.advisorรศ. ดร.กาญจนา โชคถาวร-
dc.contributor.authorนงนภสร ชัยวงค์en_US
dc.date.accessioned2020-08-20T01:04:18Z-
dc.date.available2020-08-20T01:04:18Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69683-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to 1) describe the publicity of service and service quality of small and medium enterprise (SME) development bank of Thailand, Chiang Mai branch; and 2) to evaluate service quality perception of small and medium enterprises (SMEs) in Chiang Mai province toward the small and medium enterprise development bank of Thailand.The study was a qualitative research, a survey was conducted to collect data from the sample by using online questionnaires. The samples of this study were chosen from SMEs in Chiang Mai province using the service SMEs development fund. The data were analyzed using instant statistic tools in order to calculate required statistics and display it in descriptive presentation with tables and then summarize. The finding indicated that the sample of SMEs in Chiang Mai province were mostly male (63.2 percent); their age were between 41-60 years old; their educational level was undergraduate; their type of enterprise was retail and wholesale; amount of investment approximately 100,001 - 500,000 Baht; and their average income from SMEs was 100,001 - 500,000 Baht.Service and service quality publicity of SME development bank of Thailand, Chiang Mai branch were divided into as follows: (1) Most people have perceived loan service publicity of the SMEs development funds project due to the bank having modern technology and suitable contact information. (2) Perception score of service quality toward loan service of the SMEs development funds project according to the concept of Pracharath was middle score (mean = 3.02). It could be divided into as follows; - Service categories; deposit service perception score is lowest level, loan service perception score is low level, and SMEs service perception score is medium level. - Physical appearance; perception score of reliability, reassurance to customers, understanding customer’s mind and communication response is middle level. (3) The loan service of the SMEs development funds project perception was from personal media such as friends and the bank call center staff. (4) According to publicity approaches of SMEs development bank of Thailand, Chiang Mai branch, it was found that people perceive the service by clearly oral explanation and advertisement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ตามแนวประชารัฐของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยในสาขาเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePerception of Loan Service of SMEs Development Projects According to Pracharat of Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand, Chiang Mai Branchen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่องการรับรู้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ตามแนวประชารัฐของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยในสาขาเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์งานวิจัย ดังนี้ 1) เพื่ออธิบายการประชาสัมพันธ์บริการและคุณภาพบริการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจฯ ในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อประเมินการรับรู้เกี่ยวกับคุณภาพบริการของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีต่อธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยสำหรับการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้รูปแบบวิธีการสำรวจ โดยใช้ แบบสอบ ถามออนไลน์ เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงใหม่ ที่ใช้บริการกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี (SMEs) ฯ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามและตรวจสอบความสมบูรณ์ รวมทั้งการวิเคราะห์สถิติสำเร็จรูปเพื่อคำนวณหาสถิติที่ต้องการและนำเสนอในรูปแบบการบรรยายประกอบตาราง สุดท้ายแล้วนำผลมาสรุป สรุปผลจากการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 63.2 มีอายุ 41 – 60 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ประเภทธุรกิจ กลุ่มธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่ง มีขนาดเงินลงทุน จำนวน 100,001 – 500,000 บาท ส่วนใหญ่มีรายได้จากธุรกิจ SME เฉลี่ยต่อเดือน 100,001 – 300,000 บาท สำหรับการประชาสัมพันธ์บริการและคุณภาพบริการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจฯ ในจังหวัดเชียงใหม่ แบ่งออกเป็นดังนี้ 1. การรับรู้การประชาสัมพันธ์ให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ฯ พบว่า ส่วนใหญ่มีการรับรู้การประชาสัมพันธ์ให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ฯ จากธนาคารมีความทันสมัยของเทคโนโลยีสารสนเทศและช่องทางการติดต่อสื่อสารมีความเหมาะสม 2. การรับรู้คุณภาพการให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ฯ พบว่า ส่วนใหญ่มีการประเมินระดับการรับรู้ของคุณภาพบริการให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ตามแนวประชารัฐของธนาคารฯ มีค่าเฉลี่ย 3.02 ระดับปานกลาง โดยจำแนกตามประเภท ดังนี้ - ลักษณะการให้บริการ ได้แก่ ด้านการบริการเงินฝาก พบว่ามีการรับรู้น้อยที่สุด ด้านบริการสินเชื่อ พบว่ามีการรับรู้น้อย และด้านบริการสำหรับ SMEs พบว่ามีการรับรู้ปานกลาง - ลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ การให้ความมั่นใจแก่ลูกค้าการเข้าถึงจิตใจ และการตอบสนองการสื่อสาร พบว่ามีระดับปานกลาง 3. การรับรู้การให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ฯ พบว่า ส่วนใหญ่มีการรับรู้การให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ฯ จากสื่อบุคคล เช่น เพื่อน พนักงาน Call Center ของธนาคารฯ 4. การรับรู้การให้บริการสินเชื่อโครงการกองทุนพัฒนา SMEs ตามแนวประชารัฐจากวิธีการประชาสัมพันธ์ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยในสาขาเชียงใหม่ พบว่า ส่วนใหญ่มีการรับรู้การให้บริการจากวิธีการประชาสัมพันธ์ของธนาคารจากธนาคารซึ่งมีการชี้แจงเผยแพร่และโฆษณาการบริการของธนาคารให้ผู้ใช้บริการรับทราบอย่างชัดเจนen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600432020 นงนภสร ชัยวงค์.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.