Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69677
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดร.ทัศนีย์ หอมกลิ่น | - |
dc.contributor.author | นันท์นภัส ชมชื่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-20T01:03:49Z | - |
dc.date.available | 2020-08-20T01:03:49Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69677 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were (1) to study the level of job satisfaction, work engagement, leader member exchange, and the performance of personnel of a private school (2) to study the predictive power of job satisfaction, work engagement, leader member exchange on the performance of personnel of a private school in Chiang Mai. A correlational research design was used. The population of this study was 136 people working in a private school in Chiang Mai. Who have been working for at least 6 months. The instruments used in this research consisted of six questionnaires as follows: demographic information, Job Satisfaction Scale, Work Engagement Scale, Leader Member Exchange Scale, Organizational Citizenship Behavior Scale and Performance of Personnel of a private school in Chiang Mai Province. Descriptive statics were used to describe demographic data and research variables. Hypotheses testing were carried out using Pearson product moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis. The results of this research were as follows: 1. All of the population had high levels of job satisfaction, work engagement, leader member exchange, in role performance and extra role performance. 2. job satisfaction can to predict in role performance with statistical significant(β = -.19, p <. 01). 3. job satisfaction can to predict extra roles performance with statistical significant (β = -.38, p <. 01). 4. work engagement can to predict in role performance with statistical significant (β = .16, p <. 01). 5. Work engagement has the ability to predict extra role performance with statistical significant (β = .27, p <. 01). 6. leader member exchange has the ability to predict in role performance with statistical significant (β = .97, p <. 01). 7. leader member exchange has the ability to predict extra role performance with statistical significant (β = .87, p <. 01). 8. job satisfaction, work engagement and leader member exchange have the power to jointly predict the in role performance with statistical significant at the .01 level. 9. job satisfaction, work engagement and leader member exchange have the power to jointly predict the extra role performance with statistical significant at the .01 level. Additionally, the results of an in-depth investigation by Bootstrap method PROCESS (Model 4) showed that (1) work engagement partially mediated therelationship between job satisfaction and job performance including in role performance and extra role performance (β = .69, β = .45, p < .01) respectively and (2) work engagement partially mediated the relationship between leader member exchange and job performance including in role performance and extra role performance (β = .87, β = .64, p < .01) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานบุคลากรในโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Factors Predicting Job Performance of Employees in Private School, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่องาน การแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและผู้ใต้บังคับบัญชาและผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่และ (2) เพื่อศึกษาอํานาจพยากรณ์ของความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่องาน การแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและผู้ใต้บังคับบัญชาที่มี ต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ โดยกลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรที่ ปฏิบัติงานในโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีอายุการทํางานไม่น้อยกว่า 6 เดือน จํานวน 136 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะประชากร แบบสอบถามด้านความพึงพอใจในงาน, ด้านความผูกพันต่องาน ด้านการแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ ระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา, ด้านพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและผล ประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติบรรยายเพื่อบรรยายลักษณะทางประชากรและตัวแปรที่และใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน (Pearson's Product Moment Correlation) และใช้การวิเคราะห์การทดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน S & F V 2 ปี ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มประชากรทั้งหมดมีระดับความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่องาน การแลกเปลี่ยน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและผู้ใต้บังคับบัญชาและผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูง 2. ความพึงพอใจมีความสามารถในการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ (B = -.19, p < 01) 3. ความพึงพอใจมีความสามารถในการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานนอกเหนือบทบาท หน้าที่อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (8 = -38, p < 01) 4. ความผูกพันต่องานมีความสามารถในการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (5 = 16, p<.01) 5. ความผูกพันต่องานมีความสามารถในการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานนอกเหนือบทบาท หน้าที่ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (B = 27 , p < .01) 6. การแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและผู้ใต้บังคับบัญชามีความสามารถในการ พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (B = 97 , p < 01) 7. การแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและผู้ใต้บังคับบัญชามีความสามารถในการ พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานนอกเหนือบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (6 = 87 , p < .01) 8. ความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่องานและการแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างผู้นํา และผู้ใต้บังคับบัญชามีอํานาจร่วมกันพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 9. ความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่องานและการแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างผู้นํา และผู้ใต้บังคับบัญชามีอํานาจร่วมกันในการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานนอกเหนือบทบาทหน้าที่ อย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01นอกจากนี้ ผลการศึกษาในเชิงลึกโดยการวิเคราะห์ด้วยวิธี Bootstrap โปรแกรม Process (Model 4) พบว่า ความผูกพันต่องานมีบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อบางส่วนของความสัมพันธ์ระหว่าง ความพึงพอใจในงานกับผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่และผลการปฏิบัติงานนอกเหนือบทบาท หน้าที่ (B = 69, 8 = 45, p < .01) และความผูกพันต่องานมีบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อบางส่วนของ ความสัมพันธ์ระหว่าง การแลกเปลี่ยนความความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและผู้ใต้บังคับบัญชากับผลการ ปฏิบัติงานกับผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่และผลการปฏิบัติงานนอกเหนือบทบาทหน้าที่ (β = .87, β = .64, p < .01) | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600132031 นันท์นภัส ชมชื่น.pdf | 5.89 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.