Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69669
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prof.Dr.Songsak Siriboonchitta | - |
dc.contributor.advisor | Lect.Dr.Woraphon Yamaka | - |
dc.contributor.advisor | Lect.Dr.Paravee Maneejuk | - |
dc.contributor.author | Shiqi Zhou | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-19T08:49:28Z | - |
dc.date.available | 2020-08-19T08:49:28Z | - |
dc.date.issued | 2020-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69669 | - |
dc.description.abstract | The current study explores the impact of cultural industries on economic and employment growth in China using the data from 2004Q1-2018Q4, taking the quarterly data of National culture and related industries value added, Employment and Gross Domestic Product as the main variables. In this study, we choose to work with the production function approach. The simultaneous equations are used to consider the impact of cultural industries on the economy and employment, and the lasso regression is used to screen out the instrument variables that can most affect the rate of national culture and related industries value added. The research will choose some macro-economic variables as instrument variables. The empirical results demonstrates that there is a positive and significant impact of the rate of national culture and related industries value added on the economic growth, but not significant to employment growth in China. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | The Impact of Cultural Industryon Economic and Employment Growth in China | en_US |
dc.title.alternative | ผลกระทบของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการจ้างงานในประเทศจีน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้ได้สํารวจ ผลกระทบของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ และ การจ้างงานในประเทศจีน โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ไตรมาสที่ 1 ถึง พ.ศ. 2561 ไตรมาสที่ 4 โดยอาศัยข้อมูลรายไตรมาสจากสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ซึ่งมีตัวแปรหลักคือ มูลค่าเพิ่มของ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง การจ้างงาน และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีฟังก์ชันการผลิต (Production function) และ ทฤษฎีทางเศรษฐมิติ ระบบสมการเกี่ยวเนื่อง (Simultaneous equations model) เพื่อพิจารณาผล กระทบของอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ การจ้างงาน รวมถึงใช้ การวิเคราะห์ถดถอยแบบลาสโซ่ (Lasso Regression) เพื่อคัดแยกปัจจัยที่ส่งผลกระทบมากที่สุด ต่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ มีความเกี่ยวข้องกับมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม งานวิจัยนี้จะเลือกใช้ตัวแปร เศรษฐศาสตร์มหภาคมาเป็นตัวแปรในการวัด จากการศึกษาครั้งนี้ ผลลัพธ์เชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีผลกระทบเชิงบวกและนัยสําคัญต่อการ ประเมินวัฒนธรรมและมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ไม่มีนัย สําคัญต่อการเติบโตของการจ้างงานในประเทศจีน | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611635813 SHIQI ZHOU.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.