Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรรถกร อาสนคำ-
dc.contributor.authorชัญกฤช จันทพิมพะen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:49:01Z-
dc.date.available2020-08-19T08:49:01Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69664-
dc.description.abstractThis research is a study of the control of coal dust diffusion in the crusher by electrical charged water curtain and air curtain. Tested with a test sink 0.6 meters wide and 1.2 meters long and 1.6 meters high, which has the characteristics and the ratio of the sink of the crusher 14 times. Which will be equipped with 3 types of coal dust diffusion control systems which are water curtain system, air curtain system and local exhaust ventilation system within the system, there is a corona charging to spray water for treat coal dust. By considering the speed of the air curtain and the suction speed of the air in the local exhaust ventilation system that is most suitable for controlling diffusion in mathematical models with the ESI-CFD program. The results of the calculation with the program will then be tested with the test sink to see the characteristics of diffusion and amount of coal dust produced. When dumping 9.5 kilograms of coal at a 30˚ dumping angle from the coal tank, dump the coal into the test sink at a speed of 5 meters per second. In the case of installing a water curtain system, it is found that most of the coal dust is diffused to the front of the test sink, as is the case with no diffusion control system installed. In the case that an air curtain is installed was found that the air curtain should be installed at the mouth of the test sink at the speed of 35 meters per second can reduce coal dust in the front of the test basin 96.55% by controlling all coal dust to the side of the test sink. And when installing the local exhaust ventilation system at the area where coal dust diffuses from the air curtain system was found that at the air speed in the suction pipe over 9 meters per second able to suction 97.25% of coal dust into the system. In which coal dust enters the local ventilation systemwhen passing through the air cleaning it was found that when using a water spray, it can trap coal dust by about 44.12% and when using water spray with 7 kV electrical charge, it can trap coal dust about 76.39%. From all forms of study results It was found that the best control of coal dust diffusion at the test sink was Air curtain installation speed of 35 meters per second combined with the local ventilation system that has a velocity of 9 meters per second in the suction duct and the treatment of coal dust in the air cleaning equipment of a specific ventilation system with 7 kV electrical charged water spray.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโม่บดถ่านหินen_US
dc.subjectม่านน้ำen_US
dc.subjectม่านอากาศen_US
dc.subjectระบบการระบายอากาศแบบเฉพาะที่en_US
dc.subjectุอุปกรณ์ทำความสะอาดen_US
dc.subjectการชาร์จประจุไฟฟ้าแบบโคโรน่าen_US
dc.subjectพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณen_US
dc.titleการควบคุมการฟุ้งกระจายฝุ่นถ่านหินบริเวณโม่บดด้วยม่านน้ำที่มีประจุไฟฟ้าและม่านอากาศen_US
dc.title.alternativeControl of Coal Particle Dispersion over Crusher by Electrical Charged Water and Air Curtainsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการควบคุมการฟุ้งกระจายฝันถ่านหินบริเวณโม่บดด้วยม่านน้ําที่มี ประจุไฟฟ้าและม่านอากาศ ทดสอบกับอ่างทดสอบขนาดกว้าง 0.6 เมตร ยาว 1.2 เมตร สูง 1.6 เมตร ซึ่งมีลักษณะและอัตราส่วนย่อจากอ่างของโม่บดถ่านหิน 14 เท่า ซึ่งจะมีการติดตั้งระบบควบคุมการฟัง กระจายฝุ่นถ่านหิน 3 รูปแบบ คือ ระบบม่านน้ํา ระบบม่านอากาศ และระบบการระบายอากาศแบบ เฉพาะที่ ซึ่งภายในระบบระบายอากาศแบบเฉพาะที่จะมีการชาร์จประจุไฟฟ้าแบบโคโรน่าให้กับ สเปรย์น้ําเพื่อบําบัดฝุ่นถ่านหิน โดยมีการพิจารณาความเร็วของม่านอากาศ และความเร็วในการดูด อากาศในระบบการระบายอากาศแบบเฉพาะที่ที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมการฟุ้งกระจายใน แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรม ESI-CFD จากนั้นจะนําผลการคํานวณด้วยโปรแกรมไป ทดสอบกับอ่างทดสอบเพื่อดูลักษณะการฟุ้งกระจายและปริมาณฝุ่นถ่านหินที่เกิดขึ้น เมื่อเทถ่านหินปริมาณ 9.5 กิโลกรัมด้วยมุมการเท 30" จากถังเทถ่านหินลงสู่อ่างทดสอบด้วย ความเร็ว 5 เมตรต่อวินาที ในกรณีที่ติดตั้งระบบม่านน้ําพบว่าฝุ่นถ่านหินส่วนใหญ่ฟุ้งกระจายไป บริเวณด้านหน้าของอ่างทดสอบเช่นเดียวกับกรณีที่ไม่มีการติดตั้งระบบควบคุมการฟุ้งกระจาย ใน กรณีที่ติดตั้งม่านอากาศ พบว่าควรติดตั้งม่านอากาศบริเวณปากอ่างทดสอบเพียงฝั่งเดียวที่ความเร็ว 35 เมตรต่อวินาที สามารถลดฝุ่นถ่านหินที่เกิดขึ้นบริเวณด้านหน้าของอ่างทดสอบ 96.55% โดยควบคุม ให้ฝุ่นถ่านหินทั้งหมดไปยังบริเวณด้านข้างของอ่างทดสอบ และเมื่อติดตั้งระบบการระบายอากาศ แบบเฉพาะที่บริเวณที่ฝุ่นถ่านหินฟุ้งกระจายมาจากระบบม่านอากาศ พบว่าที่ความเร็วอากาศในท่อดูด อากาศตั้งแต่ 9 เมตรต่อวินาที สามารถดูดฝุ่นถ่านหินเข้ามาในระบบได้ประมาณ 97.25% ซึ่งฝุ่นถ่าน หินที่เข้ามาในระบบการระบายอากาศเฉพาะที่เมื่อผ่านอุปกรณ์ทําความสะอาด พบว่าเมื่อใช้สเปรย์น้ํา แบบธรรมดาสามารถดักจับฝุ่นถ่านหินได้ประมาณ 44.12% และเมื่อใช้สเปรย์น้ําที่มีประจุไฟฟ้า แรงดัน 7 กิโลโวลต์ สามารถดักจับฝุ่นถ่านหินได้ประมาณ 76.39% จากผลการศึกษาทุกรูปแบบ พบว่า การควบคุมการฟุ้งกระจายฝันถ่านหินบริเวณอ่างทดสอบที่ดีที่สุดคือ การติดตั้งม่านอากาศความเร็ว 35 เมตรต่อวินาที ร่วมกับระบบการระบายอากาศแบบเฉพาะที่ที่มีความเร็วในท่อดูดอากาศ 9 เมตรต่อ วินาที และมีการบําบัดฝุ่นถ่านหินในอุปกรณ์ทําความสะอาดของระบบการระบายอากาศแบบเฉพาะที่ ด้วยสเปรย์น้ําที่มีการชาร์จประจุไฟฟ้าด้วยแรงดัน 7 กิโลโวลต์en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631066 ชัญกฤช จันทพิมพะ.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.