Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69661
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อริยา เศวตามร์-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิญญา เฟื่องฟูสกุล-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ-
dc.contributor.authorจินดาพร เบาใจen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:48:46Z-
dc.date.available2020-08-19T08:48:46Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69661-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study cultural politics in creating Bhikkuni’s identity. And the use of Bhikkuni status as a negotiating strategy for positions and acceptance in religious and social areas. With the main concepts used in the study are Cultural political concept that is a means to usurp the meaning and create new identity in society by giving new meaning to the operation through the body through time and space in the life of a monk and operating through rituals and activities which indicate the status and identity of Bhikkuni in order to be accepted in society. This study uses a qualitative research approach by interviewing, participatory and non-participatory observation. From the results of the study, the findings are Cultural politics is one of the tools used to build Bhikkuni’s identity and relates to how culture is used to justify social unequality and to fight for change. Resulting in a change of position in the power relations in religious areas, where Bhikkuni will organize their bodies with "precepts" as a means of determining the practice until Bhikkuni become strict bodies. At the same time, Bhikkuni use this strictness in negotiating for their position in the society. In addition, Bhikkuni have established themselves in negotiating through rituals and religious activities in various situations, with strategies to negotiate in order to have a position in the Thai society in many forms, including (1) Creating a Moral Subject (2) new interpretation (3) strict observance resulting from the organization of one's own body through ecclesiastical activities, just as monks in Thai society practice (4) Bhikkuni’s separation and integration strategies and (5) The ability to communicate, especially Bhikkuni’s ability to preaching and teaching of Dharma, including the use of modern technology as a medium for expanding awareness in society.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเมืองเชิงวัฒนธรรมของภิกษุณีในการต่อรองกับพื้นที่ทางศาสนาใน สังคมไทยen_US
dc.title.alternativeBhikkuni’s Cultural Politics in Negotiation with Religious Space in Thai Societyen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเมืองเชิงวัฒนธรรมในการสร้างตัวตนของภิกษุณี และการใช้สถานะความเป็นภิกษุณีเพื่อเป็นกลยุทธ์ต่อรองให้มีตําแหน่งแห่งที่ และการยอมรับในพื้นที่ ศาสนาและสังคม โดยมีแนวคิดหลักที่ใช้ในการศึกษาคือ แนวคิดการเมืองเชิงวัฒนธรรม (Cultural Politics) ที่เป็นการช่วงชิงความหมายและประกอบสร้างตัวตนใหม่ในสังคมด้วยการให้ความหมาย ใหม่ให้กับปฏิบัติการผ่านร่างกายผ่านพื้นที่และเวลาต่าง ๆ ในการดําเนินชีวิตนักบวชของภิกษุณี และ ปฏิบัติการผ่านพิธีกรรมและกิจกรรมต่าง ๆ อันเป็นการบ่งบอกถึงสถานะและตัวตนของภิกษุณีเพื่อให้ เกิดการยอมรับในสังคม การศึกษานี้ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์ การ สังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและแบบไม่มีส่วนร่วม ang Mai University จากผลการศึกษามีข้อค้นพบคือ การเมืองเชิงวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ถูกใช้ในการ สร้างอัตลักษณ์ของภิกษุณี และเกี่ยวข้องกับวิธีการที่วัฒนธรรมถูกใช้เพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับ ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ไม่เท่าเทียมและในการต่อสู้เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลง ทําให้เกิดการปรับเปลี่ยน ตําแหน่งแห่งที่ในความสัมพันธ์เชิงอํานาจในพื้นที่ศาสนา โดยที่ภิกษุณีจะจัดระเบียบร่างกายตนเอง โดยมี “ศีล” เป็นตัวกําหนดการปฏิบัติจนทําให้ร่างกายภิกษุณีเป็นร่างกายที่เคร่งครัด ขณะเดียวกัน ภิกษุณีก็ใช้ความเคร่งครัดนี้ในการต่อรองเพื่อให้ตนเองมีตําแหน่งแห่งที่ในสังคมด้วย นอกจากนี้ ภิกษุณีได้สร้างตัวตนในการต่อรองผ่านพิธีกรรมและกิจกรรมทางศาสนาในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมี กลยุทธ์ในการต่อรองเพื่อให้ตนเองมีตําแหน่งแห่งที่ในสังคมไทยในหลายรูปแบบ ได้แก่ (1) การสร้างความเป็นองค์ประธานเชิงศีลธรรม (2) การตีความหมายใหม่ (3) วัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดที่เกิดจากการ จัดระเบียบร่างกายตนเองผ่านกิจของสงฆ์เช่นเดียวกับที่พระภิกษุในสังคมไทยปฏิบัติ (4) กลยุทธ์การ แยกและผนวกรวมของภิกษุณี และ (5) ความสามารถในการสื่อสาร โดยเฉพาะความสามารถเฉพาะตัว เรื่องการเทศนาและสอนธรรมของภิกษุณี รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาเป็นสื่อกลางในการ ขยายการรับรู้ต่อสังคมen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580431005 จิดาพร เบาใจ.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.