Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69650
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst.Prof.Dr. Thaned Rojsiraphisal | - |
dc.contributor.author | Adsadang Himakalasa | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-19T08:47:51Z | - |
dc.date.available | 2020-08-19T08:47:51Z | - |
dc.date.issued | 2020-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69650 | - |
dc.description.abstract | In this thesis, we study multi-agent models with time delay that describe behaviors or movements of natural living such as bird flocks, fish school and human community ete. In this thesis, we focus on two of well-known multi-agent models that are swarming model and Cucker-Smale model. We investigate the stability of swarming model with time delay under the Morse potential function. We also outline altenative proof of CuckerSmale model with time delay using Lyapunov function. We derive sufficient optimality conditions for the Cucker-Smale model with time delay by adding one controlled leader into the system. We design two stategies of optimal control problems 1) leader agent reaches a target at final time 2) leader agent follows desired trajectory. These two optimal control problems cannot be solved numerically using a conventional gradient descent method. Therefore, in this thesis, we propose a modification of gradient descent method using new technique in unconstraint optimization step. Our new approach allows us to investigate behaviors of agents in the optimal control problem. The simulations are presented to compare behaviors of agents in considered optimal control problems. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Control Through Leadership of Cucker-Smale Model with Time Delay. | en_US |
dc.title.alternative | การควบคุมผ่านความเป็นผู้นำของแบบจำลองคักเกอร์-สเมลโดยมีตัวหน่วงเวลา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในงานวิจัยนี้ ได้ศึกษาแบบจําลองของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติที่มีตัวหน่วงเวลา เพื่อใช้ในการ อธิบายพฤติกรรมและการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มใหญ่ เช่น ฝูงนก ฝูงปลา และกลุ่มคนในสังคม เป็นต้น ในงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาแบบจําลองสองแบบจําลองที่รู้จักอย่างกว้างขวางนั่นคือแบบจําลอง ฝูงสัตว์และแบบจําลองคักเกอร์-สเมลเราได้ศึกษาเสถียรภาพของแบบจําลองฝูงสัตว์ที่มีตัวหน่วงเวลา ภายใต้ศักย์ฟังก์ชัน และนําเสนอเงื่อนไขและการพิสูจน์เสถียรภาพของแบบจําลองคักเกอร์-สเมลโดย ใช้ฟังก์ชันเลียปูนอฟ รวมทั้งได้นําเสนอเงื่อนไขที่จําเป็นในการควบคุมสําหรับแบบจําลองคักเกอร์ สเมลผ่านการเพิ่มสมาชิกหัวหน้าในระบบที่มีการควบคุมในสองรูปแบบคือ 1) ควบคุม ให้หัวหน้า ไปถึงเป้าหมาย 2) ควบคุมให้หัวหน้าเดินทางตามเส้นทางที่กําหนด ซึ่งปัญหาการควบคุมทั้งสองไม่ สามารถใช้ระเบียบวิธีความชันลดลงแบบทั่วไปสําหรับหาผลเฉลยเชิงตัวเลขได้ ในงานวิจัยนี้เราได้ นําเสนอระเบียบวิธีความชันลดลงแบบใหม่โดยปรับปรุงวิธีการในขั้นตอนการหาค่าที่เหมาะสมที่สุด ประเภทที่ไม่มีเงื่อนไข จากนั้นจึงเปรียบเทียบผลเชิงตัวเลขของปัญหาควบคุมทั้งสองรูปแบบเพื่อศึกษา พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของสมาชิกในกลุ่มที่อยู่ในปัญหานี้ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600531055 อัษฎางค์ หิมะกลัส.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.