Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. กรรณิกา แซ่ลิ่ว-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. เยาวเรศ เชาวนพูนผล-
dc.contributor.authorสุวัชรีภรณ์ จิตใจen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:47:33Z-
dc.date.available2020-08-19T08:47:33Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69646-
dc.description.abstractThe objective of the study of community based agro-tourism management at Ban San Thang Luang Village, Chan Chawa Tai Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Province was to develop suitable strategies for agro-tourism management in the community of San Thang Luang Village. Data collection was performed through in-depth interviews with community leaders, entrepreneurs, and officials from government agencies on the organizational management according to its management functions together with a collection of data regarding the analysis of internal and external environmental factors of the community tourism. TOWS Matrix was utilized to analyze the data to determine suitable strategies for agro-tourism management of the community. The analysis of community based agro-tourism management at Ban San Thang Luang Village started with a study of the organizational management according to four functions of management 1) planning 2) organizing 3) leading and 4) controlling in order to get the overview of agro-tourism management of the community for determining suitable strategies. It was found that 1) in terms of SO strategy, since community tourism was trending, it was a good opportunity for the community to promptly improve and develop community products to create unique selling points and income for the community; 2) concerning ST strategy, as government budgets were subject to changes which could in turn affect community tourism, the community ought to encourage younger generations of community members to study and pursue relevant tasks of community tourism business or the community had to be more self-reliant; 3) about WT strategy, more attention should be paid towards planning since emergencies or unusual situations arising could result in a decrease in the number of tourists. Based on the results of the study, it was concluded that the community based Agro-tourism of Ban San Thang Luang Village was manageable. However, the community still lacked planning in case of emergencies or unusual situations such as an epidemic which might halt community tourism business and affect groups in the community which relied on community tourism in terms of marketing. Secondary plans should be developed such as focusing more on tourists on family travel or those residing in the city; encouraging younger generations to be part of the community tourism business in order to incorporate technology into tourism management for advertising or being used as a marketing channel; and systematically setting up an accounting system in order to reflect the financial status of the community tourism business.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีชุมชนหมู่บ้านสันทางหลวงตำบลจันจว้าใต้ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeCommunity Based Agro-tourism Management at Ban San Thang Luang Village, Chan Chawa Tai Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีชุมชนหมู่บ้านสันทางหลวง ตำบลจันจว้าใต้ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสมต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีชุมชนหมู่บ้านสันทางหลวง โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐ โดยวิเคราะห์จากการบริหารจัดการองค์กรตามหน้าที่ของการจัดการ และรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือการวิเคราะห์คือ TOWS Matrix ในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ จากการวิเคราะห์การจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีชุมชนบ้านสันทางหลวง เริ่มจากการศึกษาการบริหารจัดการองค์กรตามหน้าที่ของการจัดการ 4 ด้าน ได้แก่ 1) การวางแผน 2) การจัดองค์กร 3) การชี้นำ และ 4) การควบคุม เพื่อให้ได้ข้อมูลภาพรวมของกลุ่ม เพื่อนำมาวิเคราะห์หา กลยุทธ์ที่เหมาะสม พบว่า 1) กลยุทธ์เชิงรุก ในการท่องเที่ยวชุมชนกำลังเป็นที่นิยม จึงเป็นโอกาสดีสำหรับกลุ่มในการเร่งปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน เพื่อสร้างจุดขายและรายได้ให้กับชุมชน 2) กลยุทธ์เชิงป้องกัน จากการเปลี่ยนแปลงด้านงบประมาณต่างๆของรัฐอาจส่งผลกระทบต่อกลุ่มท่องเที่ยวชุมชน ดังนั้นกลุ่มจึงต้องมีการจัดสรรบุคคลรุ่นใหม่เข้ามาเรียนรู้และสืบทอดงานหรือกลุ่มต้องสามารถพึ่งพาตัวเองให้ได้มากขึ้น 3) กลยุทธ์เชิงรับ ควรให้ความสำคัญกับการวางแผนมากขึ้น เนื่องจากหากมีการเปลี่ยนแปลงด้านงบประมาณของรัฐหรือเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ปกติจะส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวลดลงได้ ดังนั้นจากการศึกษาในครั้งนี้เมื่อพิจารณาจากการจัดการของชุมชนท่องเที่ยวบ้านสันทางหลวงสามารถชี้นำได้ แต่เนื่องจากกลุ่มยังไม่มีการวางแผนรองรับมากนัก เช่น สถานการณ์โรคระบาดที่อาจส่งผลให้การท่องเที่ยวหยุดชะงัก ทำให้กลุ่มที่ยังพึ่งพาการท่องเที่ยวของชุมชนเกิดปัญหาในด้านการตลาดได้หากกลุ่มการท่องเที่ยวนี้หายไป ซึ่งควรมีแผนรองรับ เช่น การให้ความสำคัญกับนักท่องเที่ยวแบบกลุ่มครอบครัวหรือกลุ่มคนในเมืองให้มากขึ้น ประกอบกับการสร้างทีมงานรุ่นใหม่เข้ามาสืบทอด ช่วยเหลือด้านเทคโนโลยี ที่ปัจจุบันเป็นปัจจัยสำคัญในการโฆษณาหรือเป็นช่องทางในการทำการตลาด รวมถึงควรมีการจัดทำบัญชีให้ถูกต้องเป็นระบบ เพื่อสามารถสะท้อนให้เห็นถึงสุขภาพทางการเงินของธุรกิจท่องเที่ยวชุมชนได้en_US
Appears in Collections:AGRO: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600832032 สุวัชรีภรณ์ จิตใจ.pdf5.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.