Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69629
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dr. Komsoon Somprasong | - |
dc.contributor.author | Manasit Sinsantithet | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-18T02:44:12Z | - |
dc.date.available | 2020-08-18T02:44:12Z | - |
dc.date.issued | 2020-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69629 | - |
dc.description.abstract | In mine reclamation, estimation of soil erosion is one of the important operations. It requires quantitative data to accurately identify critical areas. So, the accuracy in the estimation of soil erosion is a prior requirement to determine the effect of soil erosion especially in the reclamation aspect of mining. The present study uses soil erosion modeling integrates with remote sensing techniques to estimate soil erosion in the reclaim-zinc mine in Mae sot, Thailand. The integrated spatial approach based on the Revised Morgan - Morgan - Finney Model (RMMF) and the Revised Universal Soil Loss equation (RUSLE) have been generally applied to demonstrate the critical area according to its accessibility. Since these empirical models are subjected to the inclusiveness of the secondary data, especially the Digital Elevation Model (DEM), so that it was use as the main equation for the examination of the alternation of this parameter. DEMs with different sources and resolutions can generate varied topographic and hydrological features, affecting the accuracy and characteristic of the erosion model. DEMs from the Shuttle Radar Topography Mission (SRTM) at 30 m and 90 m resolution and Unmanned Aerial Vehicle (UAV) with 0.3 m resolution were acquired and applied as inputs for the RMMF and RUSLE model. The results were compared with the data from field measurement data to determine the accuracy of soil erosion models. The estimated annual average soil loss from RMMF in study area are 0.96, 0.84, 15.89, and 0.95 tonha-1year-1 which are received according to the DEMs, received from UAV, reclassifies UAV, SRTM 30 m and SRTM 90 m resolution respectively. While, the estimated annual average soil loss from RUSLE in study area are 717.87, 96.52, 5262.63, and 16772.38 tonha-1year-1 which are received according to the DEMs, received from UAV, reclassifies UAV, SRTM 30 m and SRTM 90 m resolution respectively. The results from elevation and erosion were analyzed using statistical analysis including root mean square deviation (RMSE) and relative standard error (%RSD). The comparison of RUSLE with RMMF model was done using statistical analysis. From comparison with field measurement are show that the RMMF model have percent difference value are 99.14%, 100%, 86.67% and 76.188% of UAV, reclassified UAV, SRTM30 m and SRTM90 m. While the RUSLE model have percent difference value are 933.657%, 100%, 46579.47% and 60277.26% of UAV, reclassified UAV, SRTM30 m and SRTM90 m. These results indicate that the RMMF model have better than RUSLE model in study area. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Comparison of Soil Erosion Empirical Models in Limited-Access Area of Reclaimed Mine | en_US |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบการใช้งานแบบจำลองเชิงประจักษ์ของการกัดเซาะดินในพื้นที่ฟื้นฟูเหมืองที่ยากแก่การเข้าถึง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในกระบวนการฟื้นฟูหมืองการประเมินการกัดเซาะของดินเป็นหนึ่งในการดำเนินการที่สำคัญ กระบวนการนี้ต้องการข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อระบุพื้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะ ด้วยเหตุนี้ความแม่นยำในการประเมินการกัดเซาะของดินจึงเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกในการพิจารณาผลกระทบของการพังทลายของดินในด้านการฟื้นฟูเหมือง การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบจำลองการกัดเซาะของดินผสมผสานกับเทคนิคการรับรู้ระยะไกลเพื่อประเมินการพังทลายของดินในพื้นที่ฟื้นฟูเหมืองสังกะสีในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ประเทศไทย วิธีการเชิงพื้นที่แบบบูรณาการตามแบบจำลองมอร์แกน - มอร์แกน - ฟินนี่ย์ (RMMF) และสมการการสูญเสียดินสากล (RUSLE) ได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษานี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงพื้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะ ในการสร้างแบบจำลองเชิงประจักษ์เหล่านี้จะใช้ข้อมูลทุติยภูมิโดยเฉพาะ Digital Elevation Model (DEM) เพื่อที่จะใช้เป็นตัวแปรหลักในการคำนวน และการศึกษานี้ยังวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ DEMs ซึ่งแหล่งที่มาและความละเอียดที่แตกต่างกันว่าสามารถสร้างแบบจำลองภูมิประเทศและอุทกวิทยาที่แตกต่างกันแล้วมีผลต่อความแม่นยำและลักษณะของแบบจำลองการกัดเซาะ แหล่งข้อมูลของ DEMs มีแหล่งที่มาจาก Shuttle Radar Topography Mission (SRTM) ที่มีความละเอียด 30 ม. และ 90 ม. และ Unmanned Aerial Vehicle (UAV) ที่มีความละเอียด 0.3 ม. ถูกนำไปใช้เป็นปัจจัยหลักในการสร้างแบบจำลองของ RMMF และ RUSLE ผลที่ได้จากการสร้างแบบจำลองจะถูกนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลจากการวัดการกัดเซาะของดินในภาคสนามเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองการกัดเซาะของดิน ผลการศึกษาพบว่าการกัดเซาะของดินเฉลี่ยต่อปีของแบบจำลองโดยใช้แบบจำลอง RMMF ในพื้นที่ศึกษาคือ 0.96, 0.84, 15.89 และ 0.95 ตันต่อเฮกเตอร์ต่อปี โดยใช้ UAV จัดประเภท UAV, SRTM 30 ม. และ SRTM 90 ม.เป็นแหล่งที่มาของปัจจัยด้านภูมิประเทศ ตามลำดับ ในขณะที่ประเมิณการกัดเซาะดินเฉลี่ยรายปีโดยใช้แบบจำลอง RUSLE ในพื้นที่ศึกษาคือ 717.87, 96.52, 5262.63 และ 16772.38 ตันต่อเฮกเตอร์ต่อปี โดยใช้ UAV จัดประเภท UAV, SRTM 30 ม. และ SRTM 90 ม.เป็นแหล่งที่มาของปัจจัยด้านภูมิประเทศ ตามลำดับ ผลลัพธ์ของการกัดเซาะดินจะถูกวิเคราะห์โดยวิธีการทางสถิติได้แก่ค่ารากที่สองของค่าความคลาดเคลื่อนกําลังสองเฉลี่ย (RMSE) และร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (%RSD) ผลการเปรียบเทียบแบบจำลอง RUSLE กับแบบจำลอง RMMF ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่าค่าที่วัดได้ในภาคสนามมีความแตกต่างกับแบบจำลอง RMMF อยู่ร้อยละ 99.14, 100%, 86.67% และ 76.188% โดยใช้ UAV จัดประเภท UAV, SRTM 30 ม. และ SRTM 90 ม. เป็นแหล่งที่มาของปัจจัยด้านภูมิประเทศ ตามลำดับ ในขณะที่ค่าที่วัดได้ในภาคสนามมีความแตกต่างกับแบบจำลอง RUSLE vอยู่ 933.657%, 100%, 46579.47% และ 60277.26% โดยใช้ UAV จัดประเภท UAV, SRTM 30 ม. และ SRTM 90 ม. เป็นแหล่งที่มาของปัจจัยด้านภูมิประเทศ ตามลำดับ ผลลัพธ์เหล่านี้บ่งชี้ว่าการประเมินการกัดเซาะด้วยแบบจำลอง RMMF นั้นแสดงผลทางสถิติที่ดีกว่าแบบจำลอง RUSLE ในพื้นที่ศึกษานี้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610635904 มนสิช สันสันธิเทศ.pdf | 8.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.