Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.มานัดถุ์ คากอง-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช-
dc.contributor.authorพีรฉัตร อินทชัยศรen_US
dc.date.accessioned2020-08-18T02:43:30Z-
dc.date.available2020-08-18T02:43:30Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69622-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to apply survival analysis and logistic regression analysis in studying for 1) to study survival function, median survival time and hazard rate of maximum dropping out 2) to study student’s hazard function differences on faculties 3) to find the factors influencing on the hazard rates using major, parental occupation, family income, GPAX of high school, GPAX before dropping out, academic years, school affiliation, university entrance system, entrance score and nationality as predictor 4) investigate influences of active factors: attitudes, classroom atmosphere, teacher attention, knowledge management, instructional media, flexibility, activities, relationship, time management and difficulty level on problematic undergraduate students dropouts. The population consisted of 44,579 undergraduate students in the academic years 2554–2559, Chiang Mai University. The research result indicated that in the academic year 2554–2559 group 1) the highest risk period of hazard is 0.0113 occurred in 78 intervals respectively. The median survival times of students were 90 intervals. 2) hazard function is always differences in faculties 3) The attribute predictors, affecting the hazard of students were major, GPAX before dropping out and entrance score. 4) Active factors influencing problematic undergraduate students’ dropouts were flexibility, time management, relationship and difficulty level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยกุต์ใช้การวิเคราะห์การอยู่รอดในการศึกษาการพ้นสถานภาพการเป็นนักศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAn Application of the Survival Analysis to the Study of Undergraduate Students Drop-Outs in Chiang Mai Universityen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาฟังก์ชันการอยู่รอด มัธยฐานระยะเวลาการอยู่รอด อัตรา เสี่ยงอันตรายต่อการพ้นสถานภาพการเป็นนักศึกษาสูงสุด 2) เปรียบเทียบฟังก์ชันความเสี่ยงอันตราย ของนักศึกษาแต่ละคณะ 3) วิเคราะห์อิทธิพลของสาขาวิชา อาชีพบิดามารดา รายได้ครอบครัว ผลการ เรียนเฉลี่ยในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการเรียนเฉลี่ยก่อนพ้นสถานภาพการเป็นนักศึกษา ปีการศึกษา ภูมิลําเนา สังกัดของสถานศึกษาเดิม ประเภทของการคัดเลือกเข้าศึกษา คะแนนของการ คัดเลือกเข้าศึกษา และเชื้อชาติ ที่มีต่อความเสี่ยงอันตรายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ 4) ตรวจสอบอิทธิพลของปัจจัยทางด้านทัศนคติที่มีต่อการพ้นสถานภาพ การเป็นนักศึกษา ได้แก่ ทัศนคติต่อหลักสูตรที่เรียน บรรยากาศในการเรียนการสอน ความเอาใจใส่ นักศึกษาของอาจารย์ผู้สอน เทคนิคในการถ่ายทอดความรู้ของผู้สอน สื่อประกอบการเรียนการสอน ภาวะการปรับตัว การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ความสนิทสนมกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน การแบ่งเวลาใน การเรียน และความยากง่ายของเนื้อหาวิชา ประชากร คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจํารุ่นปีการศึกษา 2554-2559 จํานวน 44,579 คน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่นปีการศึกษา 2554 - 2559 มีอัตรา ความเสี่ยงอันตรายสูงสุดเป็น 0.013 ในเดือนที่ 78 มีมัธยฐานระยะเวลาการอยู่รอดอยู่ที่เดือนที่ 90 2) นักศึกษาที่สังกัดคณะวิชาแตกต่างกันมีฟังก์ชันความเสี่ยงอันตรายที่แตกต่างกัน ซึ่งนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่นปีการศึกษา 2554 - 2559 ส่วนใหญ่มีฟังก์ชันการอยู่รอดสูง 3) ตัวทํานายที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาการอยู่รอดอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ได้แก่ สาขาวิชา ผลการเรียน เฉลี่ยก่อนพ้นสถานภาพการเป็นนักศึกษา และคะแนนของการคัดเลือกเข้าศึกษา และ 4) ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการพ้นสถานภาพการเป็นนักศึกษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ภาวะการ ปรับตัว การแบ่งเวลาในการเรียน ความสนิทสนมกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน และความยากง่ายของ เนื้อหาวิชาen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232012 พีรฉัตร อินทชัยศรี.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.