Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69619
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Preda Pichayapan-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Peerapong Jitsangiam-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Auttawit Upayokin-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Nopadon Kronprasert-
dc.contributor.authorPatcharapan Nanthavisiten_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:46:36Z-
dc.date.available2020-08-17T01:46:36Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69619-
dc.description.abstractThe cement has been used as a famous stabilizing agent for the road rehabilitation because of its high strength. However, it could lead to premature cracking on the road caused by the hydration reaction and moving traffic load. The moisture from heavy rain and flooding may bring about the pavement damage as it infiltrates and destroys the bottom layer of pavement. An asphalt emulsion has been a well- known agent for pavement stabilizing as well. It is able to increase the adhesion and waterproofing properties. The combination of the asphalt emulsion and the cement has been improved in various efficiencies of pavement. This research aimed to investigate the results of the mixture of cement and asphalt emulsion which was called the cement- asphalt emulsion as a new stabilizing agent. The objectives of this study were to determine the appropriate ratio between the cement and the asphalt emulsion and to determine the performance of cement- asphalt emulsion (CAE) stabilization. The main materials in this study were 1) the pavement recycling material, 2) the clean sand, 3) the Portland cement type I, and 4) the cationic asphalt emulsion (CSS-1). The analyzed ratios of cement-asphalt emulsion mortar were from the compressive strength test and flexural strength test. The proper result of these tests was 4:1 (cement:asphalt emulsion) thanks to the highest strength of the compression and flexibility. This appropriate ratio was then applied in pavement recycling stabilization in comparison with cement stabilization in order to determine the performance of the pavement recycling materials. The seven performance tests included 1) the Unconfined Compressive Strength test (UCS), 2) the Indirect Tensile Strength test (ITS), 3) the Repeated Load Triaxial Deformation test, 4) the water absorption and capillary rise test, 5) the WD-XRF analysis, 6) The XRD analysis, and 7) the Scanning Electron Microscope (SEM). These performance test results indicated that the increasing of the CAE content could enhance the UCS value, the ITS value, and the resilient modulus. Moreover, the CAE additive showed the improving of the tensile strain. Thus, the cracking caused by the traffic might hardly occur or decelerate. According to the micro-surface, the CAE mixture was dense and provided full of hydration reactions while the cement mixture was more porous. It showed that the CAE mixture has strength gain, less water absorption, and less capillary rise. Additionally, a higher ITS ratio and the UCS ratio revealed that the CAE mixture could perform well with excellent resistance from the water damage. In summary, the cement- asphalt emulsion as a stabilized agent is able to solve the road problems consisting of the cracking and the moisture damage, and enhance the strength, the flexibility, the deformation resistance, and the water resistance properties of the pavement recycling stabilization. Therefore, it is recommended that the cement- asphalt emulsion be a stabilizing agent for road rehabilitation and future highway construction industry in Thailand.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of Cement-asphalt Emulsion Mixture for Thailand Road Rehabilitationen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาวัสดุผสมซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชันสําหรับการ ปรับปรุงถนนของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractซีเมนต์เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการปรับปรุงถนน เนื่องจากทําให้ถนนสามารถรับกําลังได้มากขึ้น แต่มักเกิดปัญหาการแตกร้าวจากการหดตัวและแรงกระทําจากยานพาหนะ รวมถึงเหตุการณ์ฝนตก และน้ําท่วมที่น้ําจะซึมผ่านช่องว่างและสร้างความเสียหายแก่ชั้นทางได้เช่นกัน ทั้งนี้แอสฟัลต์อิมัลชัน เป็นสารอีกชนิดที่นิยมใช้ปรับปรุงคุณภาพ ซึ่งมีคุณสมบัติกันน้ําและเพิ่มการยึดเกาะระหว่างวัสดุ ดังนั้นวัสดุผสมระหว่างซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชันจะสามารถปรับปรุงคุณสมบัติของชั้นทางได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น คุษฎีนิพนธ์นี้จึงได้ทําการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุผสมระหว่างซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชัน และ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของการปรับปรุงคุณภาพชั้นพื้นทางด้วยซีเมนต์แอสฟัลต์อิมัลชัน วัสดุหลักที่ ใช้ในงานวิจัยนี้ ประกอบด้วย 1) วัสดุงานทางนํากลับมาใช้ใหม่ 2) ทราย 3) ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ชนิดที่ 1 และ 4) แอสฟัลต์อิมัลชันชนิด CSS-1 การวิเคราะห์สัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชันได้จากการทดสอบกําลัง รับแรงอัดและกําลังรับแรงดึงของมอร์ตาร์ พบว่าสัดส่วนซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชัน 4:1 ทําให้เกิด กําลังรับแรงอัดและกําลังรับแรงดึงสูงที่สุด จึงนําสัดส่วนซีเมนต์และแอสฟัลต์อิมัลชันนี้ผสมกับวัสดุ งานทางนํากลับมาใช้ใหม่เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของวัสดุงานทางนํากลับมาใช้ใหม่เปรียบเทียบกับ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุด้วยซีเมนต์ โดยการทดสอบประสิทธิภาพประกอบด้วย 1) การทดสอบแรงอัดแกนเดียว 2) การทดสอบแรงดึงทางอ้อม 3) การทดสอบแรงอัดสามแกนแบบวัฏจักร 4) การ ทดสอบการดูดซึมน้ําและการไหลซึมขึ้นของน้ํา 5) การศึกษาธาตุด้วยการเอกซเรย์แบบเทคนิคการ เรืองรังสี 6) การศึกษาสารประกอบของวัสดุเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ และ 7) การวิเคราะห์ ภาพถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสแกนนิ่ง ผลการทดสอบประสิทธิภาพของวัสดุงานทางนํากลับมาใช้ใหม่พบว่าค่ากําลังรับแรงอัด ค่า กําลังรับแรงดึงทางอ้อม และค่าโมดูลัสการคืนตัวของวัสดุจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อเพิ่มปริมาณซีเมนต์ แอสฟัลต์อิมัลชันในวัสดุงานทางนํากลับมาใช้ใหม่ โดยยังพบว่าซีเมนต์แอสฟัลต์อิมัลชันช่วยเพิ่ม ความสามารถในการรองรับความเครียดดึงของวัสดุได้ดีขึ้น ดังนั้นการแตกร้าวจากแรงกระทําของ ยานพาหนะอาจไม่เกิดขึ้นหรือการเกิดขึ้นช้าลง การวิเคราะห์พื้นผิววัสดุที่ผสมด้วยซีเมนต์แอสฟัลต์ อิมัลชันในระดับจุลภาค พบปฏิกิริยาไฮเดรชันและพื้นผิววัสดุมีความแน่น ในขณะที่วัสดุที่ผสมด้วย ซีเมนต์จะมีความพรุนมากกว่า อาจกล่าวได้ว่าวัสดุที่ผสมด้วยซีเมนต์แอสฟัลต์อิมัลชันมีกําลังเพิ่มขึ้น และมีการดูดซึมน้ําได้น้อยลง นอกจากนี้ค่าสัดส่วนกําลังรับแรงอัดและค่าสัดส่วนกําลังรับแรงดึง ทางอ้อมแสดงให้เห็นว่าวัสดุซีเมนต์แอสฟัลต์อิมัลชันสามารถต้านทานความเสียหายจากน้ําได้เป็น อย่างดี ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นการปรับปรุงถนนด้วยซีเมนต์แอสฟัลต์อิมัลชันสามารถแก้ไขปัญหาการ แตกร้าวและความเสียหายจากน้ํา รวมถึงสามารถเพิ่มกําลังรับแรงอัด กําลังรับแรงดึง ความยืดหยุ่น ความต้านทานการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุ รวมถึงมีความต้านทานการดูดซึมน้ํา ดังนั้นซีเมนต์ แอสฟัลต์อิมัลชันจึงเป็นวัสดุปรับปรุงคุณภาพที่เหมาะสมในการปรับปรุงถนนของประเทศไทยและ การก่อสร้างทางในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580651029 พัชรพรรณ นันทวิสิทธิ์.pdf19.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.