Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69618
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย ์ ดร.สุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช | - |
dc.contributor.author | พิทักษ์ ปินใจ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-17T01:46:30Z | - |
dc.date.available | 2020-08-17T01:46:30Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69618 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) study indicators and factors of global citizenship measurement of high school students. 2) develop and validate the structural equation multi-level model of factors affecting to global citizenship of high school students. And 3) analyze effects of mediator variables of student factors in the structural equation multi-level model of factors affecting to global citizenship of high school students. The research samples were 2,286 high school students of the Secondary Educational Service Area Office 34, 35, 36, 80 teachers and 80 classrooms. The research instruments were 1) the questionnaire of global citizenship measuring responsibility for own duty, ethnic pluralism, group empathy, social justice. The reliabilities (α) of each factor were 0.808, 0.801, 0.792, 0.849, and 0.832 respectively. 2) 16 items questionnaire of factor influencing global citizenship classified as democracy rearing style. The reliability (α) was 0.913, 12 items questionnaire of reasoning decision making. The reliability (α) was 0.864, 9 items questionnaire of attitude towards politics. The reliability (α) was 0.818, 12 items questionnaire of school environment. The reliability (α) was 0.839, and 12 items questionnaire of learning activities. The reliability (α) was 0.809. The data was analyzed by using 1) descriptive analysis, multiple correlation analysis, 2) second order confirmatory factor analysis (2nd CFA), 3) Multilevel confirmatory factor analysis (MCFA), 4) Multilevel Structural Equation Model of factors influencing global citizenship of high school students (MSEM), 5) analyze effect of mediator variables of student factor. Research Results as below 1) The result of analyzing global citizenship measurement model found that the model contained construct validity with χ 2 = 110.671, df = 99, \frac{χ 2}{df} = 1.110, p-value = 0.1988, CFI = 0.999, TLI = 0.999 RMSEA= 0.007, SRMR = 0.017. Factor loadings were between 0.829 and 0.913. Responsibility for own duty factor had the highest factor loading. All manifest variables of global citizenship measurement model had intraclass correlation coefficient (ICC) from 0.092 to 0.127 showed that manifest variables of global citizenship contained the variation in student level and classroom level. 2) The result of development and validation of the structural equation multi-level model of factors affecting to global citizenship of high school students showed that the model was fit to the empirical data. Student variables explained 68.5% of the variance of global citizenship. Classroom variables explained 84% of the variance of global citizenship. 3) The result of analyzing effects of mediator variables of student factor showed that effects of mediator variables of reasoning decision making and attitude towards politics were complete mediation at .01 statistical significance level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | อิทธิพลของการเลี้ยงดีและแนวการสอนแบบประชาธิปไตยที่มีต่อความเป็นพลเมืองโลกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย: การวิเคราะห์พหุระดับโดยมีปัจจัยด้านนักเรียนเป็นตัวแปรส่งผ่าน | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Democratic Parenting and Teaching Approach on High School Students’ Global Citizenship: A Multi-Level Analysis with Student’s Factors as Mediators | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้และองค์ประกอบของการวัดความเป็น พลเมืองโลกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) พัฒนาและตรวจสอบความตรงของ โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นเมืองโลกของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และ3) วิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านของปัจจัยด้านนักเรียนในโมเดลสมการ โครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นเมืองโลกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ตัวอย่างการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยม เขต 34 35 และ 36 จํานวน 2,286 คน และครูผู้สอนจํานวน 80 คน ห้องเรียนจํานวน 80 ห้อง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แบบวัดความพลเมืองโลก วัดองค์ประกอบด้านความ รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง คุณค่าของความหลากหลายทางชาติพันธุ์ การเห็นอกเห็นใจ ระหว่างกลุ่ม การเห็นอกเห็นใจระหว่างกลุ่ม ความเป็นธรรมในสังคม โดยมีค่าความเชื่อมั่น (a)ใน การวัดแต่ละองค์ประกอบเท่ากับ 0.808 0.801 0.792 0.849 และ 0.832 ตามลําดับ 2) แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นพลเมืองโลก จําแนกเป็นด้านการเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย จํานวน 16 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.913 ด้านการใช้เหตุผลในการตัดสินใจ จํานวน 12 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น 0.864 ด้านเจตคติต่อการเมือง จํานวน 9 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.818 ด้านสภาพแวดล้อมของ สถานศึกษา จํานวน 12 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น 0.839 ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน จํานวน 12 ข้อ ค่า ความเชื่อมั่น 0.809การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย 1) สถิติเชิงบรรยาย การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พหุคูณ (Multiple Correlation Analysis) 2) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (2" CFA) 3) การวิเคราะห์โมเดลสมการพหุระดับเชิงยืนยัน (MCFA) 4) การวิเคราะห์โมเดลสมการ โครงสร้าง พระคับปัจจัยที่มีอิทธิต่อความเป็นพลเมืองโลกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (MSEM) 5) วิเคราะห์บทบาทอิทธิพลตัวแปรส่งผ่านของปัจจัยด้านนักเรียน สรุปผลการวิจัย 1) ผลการวิเคราะห์โมเดลการวัดความเป็นพลเมืองโลกมีความตรงเชิงโครงสร้างโดย พิจารณาได้จากค่าสถิติที่ใช้ตรวจสอบความตรงของโมเดล ได้ค่าดังนี้ χ 2 = 110.671, df = 99, \frac{χ 2}{df} = 1.110, p-value = 0.1988, CFI = 0.999, TLI = 0.999 RMSEA = 0.007, SRMR = 0.017 พบว่ามีค่าน้ําหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.829 ถึง 0.913 และองค์ประกอบที่มีค่าน้ําหนักองค์ องค์ประกอบมากที่สุด คือ ความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง โมเดลการวัดความเป็นพลเมือง โลก พบว่า ตัวแปรสังเกตได้ทุกตัวมีค่าสหสัมพันธ์ภายในชั้น (ICC) ระหว่าง 0.092 ถึง 0.127 แสดง ว่าตัวแปรสังเกตได้ของความเป็นพลเมืองโลกมีความผันแปรทั้งในระดับนักเรียนและระดับ ห้องเรียน 2) ผลการพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความเป็นพลเมืองโลก พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตัวแประ ระดับนักเรียนร่วมกันอธิบายความแปรปรวนความเป็นพลเมืองโลกได้ร้อยละ 68.50 ตัวแปรระดับ ห้องเรียนร่วมกันอธิบายความแปรปรวนความเป็นพลเมืองโลกได้ร้อยละ 84.00 3) วิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านของปัจจัยด้านนักเรียน พบว่าเมื่อทดสอบบทบาทอิทธิพลส่งผ่าน ตัวแปรด้านการใช้เหตุผลในการตัดสินใจ และตัวแปรด้านเจตคติต่อการเมืองทั้งสองระดับเป็นตัว แปรส่งผ่านแบบสมบูรณ์อย่างนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600232005 พิทักษ์ ปินใจ.pdf | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.