Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69611
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร. กลยทุ ธ ปัญญาวุธโธ-
dc.contributor.authorลิขสิทธ์ิ อินต๊ะเขื่อนen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:45:47Z-
dc.date.available2020-08-17T01:45:47Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69611-
dc.description.abstractOrganic Redox Flow Battery using aqueous solution is suitable storage with renewable energy or over electrics capacity produce period. The electroactive of this experiment were using Anthraquinone-2-disulfonic acid (AQS) and 1,2-Benzoquinone-3,5-disulfonic acid (BQDS). Firstly, using Cyclic voltammetry technique for evaluate the electrochemical reaction of reversible reaction, standard half-cell reaction and diffusion coefficient. After that, produce the membrane electrode assembly by spray carbon on the membrane for active area 25 cm2 and assembly with the single cell was instructed in house. The cell efficiency were evaluated 3 conditions, flow rate changed at the 100, 175 and 250 ml/min by fixed concentration 0.20M and the 2nd condition, concentration active solution were vary by 0.10, 0.15 and 0.20M and fixed flow rate at the 250 ml/min. In the last condition, to operated run 23 cycles for charging-discharging. The result of electrochemical found that, active material was good reversible process, the standard half-cell showed 0.17V and 0.93V and diffusion coefficient from calculating equal 2.64x10- 6 cm2/s and 1.32x10-6 cm2/s as the sequent of AQS and BQDS. The single cell operation, efficiency followed by the flow rate 100, 175 and 250 ml/min showed result of coulombic and energy efficiency that 64.3%, 76.0%, 77.3% and 31.9%, 42.0%, 43.0% so concluded that high active solution of flow rate is the best. And efficiency of active concentration equal 64.7%, 78.6%, 80.3% and 38.4%, 43.0%, 43.7% of 0.10, 0.15 and 0.20M in the highest concentration is the best. For the cell cycle 23 rounds, coulombic and energy efficiency showed average result at the 97.1% and 37.5% (after 4th cycle)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีของแบตเตอรี่การไหลสารอินทรีย์ ใช้น้ำเป็นสารละลายen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Electrochemical Reaction of Organic Flow Battery Using Aqueous Solutionen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแบตเตอรี่ชนิดการไหลแบบรีคือกซ์ที่ใช้สารอินทรีย์เป็นสารทํางานโดยใช้น้ําเป็นตัวทําละลาย เป็นการกักเก็บพลังงานชนิดหนึ่งที่เหมาะกับพลังงานทางเลือกส่วนเกินในช่วงที่มีกําลังการผลิตเกิน ความต้องการ และในงานวิจัยนี้ใช้สารทํางานประเภทสารอินทรีย์ คือสาร Anthraquinone-2-disulfonic acid (AQS) กับสาร 1,2-Benzoquinone-3,5-disulfonic acid (BQDS) โดยเบื้องต้นได้นําสารทํางานไป ทดสอบด้วยวิธีการไซคลิกโวแทมมิตรีเพื่อหาคุณสมบัติทางปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีเกี่ยวกับการผันกลับได้ ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน และสัมประสิทธิ์การแพร่ จากนั้นทําการทดสอบหาประสิทธิภาพ ต่างๆ กับแบตเตอรี่เซลล์เดียว ซึ่งใช้ Membrane electrode ที่เตรียมโดยวิธีพ่นคาร์บอนลงบนเมมเบรน ที่มีพื้นทําปฏิกิริยา 25 cm ประกอบเข้ากับตัวเซลล์ที่ทําขึ้น เงื่อนไขการทดสอบคือ การเปลี่ยนแปลง อัตราการไหลที่ 100, 175 และ 250 m/min โดยใช้ความเข้มข้นคงที่ 0.20M และการเปลี่ยนแปลงความ เข้มข้นสารทํางานที่ 0.10, 0.15 และ 0.20M ในอัตราการไหลคงที่ 250 m/min รวมถึงการทดสอบการ อัดประจุ-คายประจุต่อเนื่อง 23 รอบ เพื่อทําการหาประสิทธิภาพทางด้านประจุและพลังงาน ผลจากการทดสอบคุณสมบัติทางปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีพบว่าสารทํางาน AQS และ BQDS สามารถเกิดปฏิกิริยาผันกลับได้ มีค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ที่ 0.17V และ 0.93V โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การ แพร่อยู่ที่ 2.64 x 10 cm /s และ 1.32 x 10 cm /s ตามลําดับ ในขณะที่ประสิทธิภาพตามอัตราการไหล 100, 175 และ 200 m/min ได้ประสิทธิภาพด้านประจุและประสิทธิภาพด้านพลังงานเท่ากับ 64.3%, 76.0%, 77.3% และ 31.9%, 42.0%, 43.0% ตามลําดับ สรุปได้ว่าที่อัตราการไหลที่มากกว่าจะให้ผลที่ ดีกว่า และประสิทธิภาพตามความเข้มข้นเท่ากับ 64.7%, 78.6%, 80.3% และ 38.4%, 42.3%, 43.7% ที่ 0.10, 0.15 และ 0.20M ตามลําดับ โดยที่ความเข้มข้นที่มากกว่าจะให้ผลที่ดีกว่า ในขณะที่ประสิทธิภาพ การอัดประจุ-ประจุต่อเนื่อง 23 รอบ เฉลี่ยเท่ากับ 97.1% และ 37.5% (ตั้งแต่รอบที่ 4)en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631085 ลิขสิทธิ์ อินต๊ะเขื่อน.pdf12.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.