Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69582
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เขมกร ไชยประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | อริสา เลิศกิจชุติมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-15T03:03:40Z | - |
dc.date.available | 2020-08-15T03:03:40Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69582 | - |
dc.description.abstract | This independent study focused on the inventory management of Lertkit retail store, Chiang Mai province. The ABC analysis technique has been implemented and grouped by the important level of each products. The products that falls on group A were used to calculate the Economic Order Quantity (EOQ), safety stock level and Reorder point (ROP). From the store sales report 2018, there were 6 categories of products available in the store. Among these, 4 categories related to drinks and beverage were selected as a subject of the study. After implemented ABC technique, 39 items fall in group A which is cost 3,159,876.00 THB and represent 65.44 percent of overall products in the study. The adjusted EOQ by lot size were used in the study. The calculation performed with covariance of lead time and product amount. The results show that the adjusted EOQ is 2,874 units per six months. Total ordering cost is 53,135.66 THB, total holding cost is 58,327.83 THB, and overall total cost is 111,463.49 THB per six months. Considering the costs before the study, total ordering cost is 15,040.00 THB, total holding cost is 569,789.22 THB, and overall total cost is 584,829.22 THB per six months. The result of the study shows that Lertkit store can save 473,365.73 THB per year if considering using this method. When specify the service level at 95 percent, the overall cost is increasing at 29,750.24 THB per six months. In conclusion, implementing the inventory management method with EOQ technique to Lertkit store is very effective in reducing overall cost and has a result in increasing overall profit. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการสินค้าคงคลัง ร้าน เลิศกิจ จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Inventory Management of Lertkit Retail Store, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ เป็นการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสินค้าคง คลังของร้านเลิศกิจ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการแบ่งประเภทสินค้าคงคลัง ด้วยวิธี ABC Analysis เพื่อจำแนกความสาคัญของสินค้าตามมูลค่าของสินค้า คำนวณหาปริมาณการ สั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) เพื่อให้ทราบถึงปริมาณที่เหมาะสมในการสั่งซื้อสินค้าแต่ละครั้ง และ คำนวณหาปริมาณสินค้าสำรอง (SS) และจุดสั่งซื้อใหม่ (ROP) จากการวิเคราะห์ยอดขายสินค้าของร้านเลิศกิจในปี 2561 พบว่า มีสินค้าทั้งสิ้น 6 หมวด และผู้ ศึกษาได้เลือกวิเคราะห์สินค้าประเภทเครื่องดื่ม ซึ่งเป็นสินค้าหลักของร้าน ซึ่งมีทั้งสิ้น 4 หมวด ในการ วิเคราะห์แยกลำดับความสาคัญของสินค้า เป็น 3 กลุ่ม พบว่า กลุ่ม A มีจำนวนสินค้ารวม 39 รายการ คิดเป็นมูลค่าสินค้ารวม 3,159,876.00 บาท หรือร้อยละ 65.44 ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด และเมื่อนำ สินค้าในกลุ่ม A มาวิเคราะห์หาปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด ปรับปริมาณสั่งซื้อตาม Lot size และ รวมรายการสั่งซื้อสำหรับรายการที่สามารถจัดส่งพร้อมกันได้ แล้วคำนวณหาจุดสั่งซื้อใหม่ โดยมี ความแปรปรวนของระยะเวลานำและปริมาณความต้องการสินค้าไม่คงที่ กำหนดให้มีระดับการ ให้บริการที่ร้อยละ 95 จากเดิมที่ใช้วิธีการคาดคะเน ผลการวิเคราะห์พบว่าต้นทุนรวมของการจัดการ สินค้าก่อนการนำหลักการจัดการสินค้าคงคลังมาประยุกต์ใช้ พบว่ามูลค่าสูงถึง 584,829.22 บาท โดย คิดเป็นต้นทุนการสั่งซื้อ 15,040.00 บาท และต้นทุนการเก็บรักษา 569,789.22 บาท จากการคำนวณ ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดของการศึกษานี้ พบว่าปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดเมื่อปรับตาม Lot size จะมีปริมาณ 2,874 หน่วย ต้นทุนการสั่งซื้อใหม่คิดเป็น 53,135.66 บาท จากเดิม 55,613.33 บาท ทำให้ ประหยัดลง 2,477.67 บาท และมีต้นทุนการเก็บรักษา 58,327.83 บาท และมีต้นทุนรวมเป็น 111,463.49 บาท ซึ่งประหยัดลงจากเดิม 473,365.73 บาทในการคำนวณหาจุดสั่งซื้อใหม่ เนื่องจากพบว่าหากเพิ่มระดับการบริการจาก 90% เป็น 95% จะทำให้ต้นทุนรวมของสินค้าคงคลังสำรองเพิ่มขึ้นเพียง 29,750.24 บาท จึงนับได้ว่าการนา ทฤษฎีการ จัดการสินค้าคงคลังด้วยวิธีการกำหนดปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูง และเป็นที่น่าพอใจในการนำมาบริหารจัดการสินค้าคงคลังของร้านเลิศกิจ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601532169 อริสา เลิศกิจชุติมา.pdf | 4.7 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.