Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง-
dc.contributor.authorสวรุจ ขาวอิ่นen_US
dc.date.accessioned2020-08-15T03:02:04Z-
dc.date.available2020-08-15T03:02:04Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69566-
dc.description.abstractThe objective of this study, “Enhancing Germination Rate of Mulberry by Plasma Activated Water Technique” is to increase reactive nitrogen species (RNS), which is in the form of Nitrate (NO3), in water by activation of Plasma Activated Water (PAW) on Mulberry Sakhon Nakhon 72. The method used in this study are that of the application of full factorial experiment with Center Point. The study is on three main parameters which are electric power (watt), nitrogen gas flowrate and activated time in relation to the Enhancing of reactive nitrogen species (RNS) quantity and leaf area. The Image processing technique shall be used regarding the measurement of leaf area. Regarding to the experiment, it was found that those three factors affected on reactive nitrogen species (RNS) significantly. With electric power of 500 Watt, the nitrogen gas flowrate of 2.5 Liters per minutes and discharge time of 10 minutes, increased the quantity of reactive nitrogen species (RNS) the most, which produced the nitrate concentration of 33.36 milligrams per liter by average. However, regarding the growth acceleration on mulberry, it was found that there are only 2 significant parameters which are electric power and discharge time. It is noted that, by using response optimizer method, the most suitable value used are 500 watts of electric power with 0.5 liter per minutes of flowrate and 10 minutes discharged time, could increase the leaf area of 58.4 percent more than the controlled group without plasma activated water.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเร่งการเติบโตต้นหม่อนด้วยเทคนิคน้ำที่กระตุ้นด้วยพลาสมาen_US
dc.title.alternativeEnhancing Germination Rate of Mulberry by Plasma Activated Water Techniqueen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างอนุมูลอิสระไนโตรเจนที่องอยู่ในรูปของไนเตรท (NO)ในน้ําด้วยเทคนิคน้ําที่กระตุ้นด้วยพลาสมา (Plasma Activated Water : PAW) และนําไปใช้ใน การเร่งการเจริญเติบโตของต้นหม่อนไหมพันธุ์ สกลนคร 72 โดยการนําเทคนิคการออกแบบการ ทดลองแฟคทอเรียลร่วมกับจุดกึ่งกลางมาประยุกต์ใช้ โดยศึกษาปัจจัย ทั้งหมด 3 ปัจจัย คือ กําลังไฟฟ้า (Watt), อัตราการไหลของก๊าซไนโตรเจน (Gas Flow Rate) และ ระยะเวลาในการดิจชาร์จพลาสมา (Activated Time) และมีผลตอบคือ ปริมาณอนุมูลอิสระไนโตรเจน และ ปริมาณการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ ของใบด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพ (Image Processing) จากผลจากการวิจัยพบว่า ในการสร้าง อนุมูลอิสระไนโตรเจนนั้น ปัจจัยหลักทั้ง 3 ปัจจัยจะส่งผลต่อการสร้างอนุมูลอิสระไนโตรเจนทั้ง 3 ปัจจัยอย่างมีนัยสําคัญ โดยพารามิเตอร์ที่เหมาะสม คือ กําลังไฟฟ้าที่ 500 วัตต์, อัตราการไหลของก๊าซ 2.5 ลิตรต่อนาที และ ระยะเวลาดิจชาร์จ 10 นาที ส่งผลให้สามารถวัดค่าความเข้มข้นไนเตรทได้ถึง 33.36 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยเฉลี่ย แต่เมื่อนําไปใช้ในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นหม่อนนั้น พบว่าจะ มีเพียง 2 ปัจจัยที่ส่งผลอย่างมีนัยสําคัญ ก็คือ กําลังไฟฟ้าและระยะเวลาในการดิจชาร์จ เมื่อนําไป วิเคราะห์ด้วยฟังก์ชัน response optimizer จะได้พารามิเตอร์ที่เหมาะสม คือ กําลังไฟฟ้าที่ 500 วัตต์ อัตราการไหลของก๊าซ 0.5 ลิตรต่อนาที และ ระยะเวลากิจชาร์จ 10 นาที ที่สามารถเพิ่มพื้นที่ของใบได้ มากกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ใช้น้ําที่กระตุ้นด้วยพลาสมาได้มากถึง 58.4 เปอร์เซ็นต์en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631038 สวรุจ ขาวอิ่น.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.