Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร. สาลินี สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorบัณฑิตา เมธาวิตากุลen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:03:21Z-
dc.date.available2020-08-14T03:03:21Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69558-
dc.description.abstractAssessment fourth industry readiness for food industry supply chain helps the enterprise to prepare their own business to Fourth Industry concept. The aims of this Study were to 1) To develop tools for assessment the readiness of the food and agriculture processing Small and medium enterprise. 2) To assess the readiness of the enterprise to adapt to the Fourth Industry. This research begins with the study of evaluation criteria used in the assessment, Study of generated information of the Fourth Industry concept. The study of Industry information in Thailand because Thailand is the country of agriculture from the past to present and the agriculture is the most importance Industry in Thailand that is the reason why choosing food and agriculture processing. Data collected totally 50 enterprise which the 30 Small size enterprise and 20 medium size enterprise and divided into 7 categories include consumer goods from food product, non-food product and both food and non-food product, Farm, Beverage, Seasoning, Logistics service provider. Data were collected by Maturity model. The enterprise provides basic information of the enterprise and give the score of the 42 dimension ranging from 1-5 in the topics of the firm score, importance, target for this three topics can get the score of gap by target- firm score and to finding the weighted gap by gap*importance/5. Then use all this score weighted gap and importance to do the matrix graph to get the suggestion to the enterprise.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินความพร้อมเพื่อเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 สำหรับโซ่อุปทาน เกษตรและอาหารแปรรูปของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้แบบจำลองวุฒิภาวะen_US
dc.title.alternativeIndustry 4.0 Readiness Assessment for Agriculture and Food Processing Supply Chain of Northern SMEs in Thailand Using Maturity Modelen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการประเมินความพร้อมของอุตสาหกรรมในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 สามารถช่วยให้สถานประกอบการสามารถเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความพร้อมของสถานประกอบการที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป 2. เพื่อประเมินความพร้อมของสถานประกอบการในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยนี้เริ่มจากการศึกษาข้อมูลเกณฑ์การประเมินที่ใช้ในการประเมิน ข้อมูลทั่วไปของแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 ที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก จากนั้นทำการศึกษาข้อมูลอุตสาหกรรมในประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมาตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันและพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีการทำการเกษตรเป็นจำนวนมากเป็นสาเหตุให้เลือกอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูปเพื่อมาทำงานวิจัยในครั้งนี้ จำนวนทั้งสิ้น 50 สถานประกอบการแบ่งเป็นสถานประกอบการที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางจำนวน 30 แห่งและวิสาหกิจขนาดย่อมจำนวน 30 แห่ง และแบ่งประเภทออกเป็น 7 ประเภทได้แก่ สินค้าบริโภคจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สินค้าอุปโภคจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สินค้าอุปโภคบริโภคจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เครื่องดื่ม เครื่องปรุงรส ฟาร์มและผู้ให้บริการทางโลจิสติกส์ ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบจำลองวุฒิภาวะ โดยสถานประกอบการทำการให้ข้อมูลเบื้องต้นของสถานประกอบการและทำการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์การประเมิน จำนวน 42 เกณฑ์ ตั้งแต่ 1-5 คะแนน ในเรื่องของระดับคะแนนปัจจุบัน คะแนนความสำคัญและคะแนนการตั้งเป้าหมาย เพื่อนำมาหา Gap โดยสามารถหาได้จาก ค่าคะแนนการตั้งเป้าหมาย - ระดับคะแนนปัจจุบัน และหา Weighted Gap โดย นำค่าคะแนน Gap*คะแนนความสำคัญ/5 จากนั้นนำค่าของคะแนนความสำคัญและ Weighted Gap มาวาดกราฟเมตริก เพื่อเป็นข้อเสนอแนะให้กับสถานประกอบการต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631043 บัณพิตา เมธาวิตากุล.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.