Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ นันทศรี-
dc.contributor.authorทิพย์สุดา แสนโสen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:03:11Z-
dc.date.available2020-08-14T03:03:11Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69556-
dc.description.abstractOriginally, Tai Lue culture in Lampang province can be divided into many aspects including historical story, tradition, and life style, all of which represent its identity. However, due to cultural intervention and ignorance, this ethnic group has gradually lose his/her cultural identities and inherited values which are actually required the maintenance and conservation for the next generations who might be proud of their own histories, languages of both spokenand written forms, and local wisdoms.This is to say, as a consequence, the local identities of this communitywill have gradually disappeared and the later generations will not be able to identify who they are and who theirancestors were. Therefore, this research aims at studying the cultural knowledge management toward Tai Lue community so that it can be developed. An interview with an expert was conducted at Baan Kluai Phae, Muang District, Lampang Province. Data collected consists of 1) dress culture 2) traditional weaving local wisdom 3) architectural design 4) art performance 5) Tai Lue language 6) local food and 7) folk games. Apart from these, the researcher also focused on studying the learning management process. The research resulted in creating the website to be Tai Lue knowledge resource. And all media materials on the database can be added or edited in various forms such as photos, videos, sound clips, andtexts. More importantly, it will be guidelines for the related organisations to be aware of ethnic identity maintenance and the promotion of new ethnic generationsto appreciate on their rooted and inherited cultures, particularly the heritage language and cultural practicesen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบฐานความรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Tai Lue Culture Knowledge-base System in Lampangen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัฒนธรรมไทลื่อจังหวัดลําปางมีทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ประเพณีและการดํารงชีวิต ซึ่ง แสดงถึงอัตลักษณ์ของตนเอง แต่ในยุคปัจจุบันการรับวัฒนธรรมอื่นเข้ามาและการขาดความสนใจทํา ให้วัฒนธรรมไทลื้อจากอดีตเริ่มสูญหายไป ผู้สูงอายุในชุมชนยังต้องการให้แก่ลูกหลานได้เรียนรู้ วัฒนธรรมไทลื้อและให้ลูกหลานสืบทอดต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการจัดการ ความรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดลําปาง เพื่อการพัฒนาฐานความรู้ โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ วัฒนธรรมไทลื่อชุมชนบ้านกล้วยแพะ อําเภอเมือง จังหวัดลําปางโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยและ พัฒนา (Research and Develop: R&D) เพื่อเก็บข้อมูลด้านวัฒนธรรมและการจัดการความรู้วัฒนธรรม ไทลื้อ ซึ่งประกอบด้วยวัฒนธรรมดังต่อไปนี้ 1) วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย 2) วัฒนธรรมด้านการทอ ผ้า 3) วัฒนธรรมด้านสิ่งก่อสร้างและสถาปัตยกรรม 4) วัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง 5) วัฒนธรรม ด้านภาษาไทลื้อ 6) วัฒนธรรมด้านอาหาร และ 7) วัฒนธรรมด้านการละเล่น และได้ศึกษาถึง กระบวนการจัดการความความรู้จากผู้เชียวชาญ ผลการวิจัยพบว่าการจัดเก็บความรู้วัฒนธรรมไทลื้อ ชุมชนบ้านกล้วยจังหวัดลําปางให้อยู่ในรูปแบบเว็บไซต์เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ผู้ที่สนใจและอนุรักษ์ วัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ให้คงอยู่ให้ลูกหลานสืบต่อไป โดยความสามารถของฐานข้อมูล สามารถ เพิ่มเติม แก้ไข ข้อมูล จัดเก็บสารสนเทศในรูปภาพที่หลากหลาย เช่น รูปภาพ วิดีโอ เสียง และ ตัวอักษร ตลอดไปจนถึงช่องทางการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน ไทลื้อ ได้en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132019 ทิพย์สุดา แสนโส.pdf8.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.